Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWorawoot Unpanyaen
dc.contributorวรวุฒิ อันปัญญาth
dc.contributor.advisorSutham Thamatasenahanten
dc.contributor.advisorสุธรรม ธรรมทัศนานนท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:29Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:29Z-
dc.date.issued12/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/989-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe study aimed 1) to investigate the elements and indicators of creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization, 2) to study the current situations and desirable situations of creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization, 3) to investigate approaches to strengthen creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization, 4) to develop program to strengthen creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization and 5) to study the results of program to strengthen creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization developed by using research and development design. The researcher studied the concept and theory related to creative transformational leadership of school administrators, current situations analysis and needs of strengthening creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization.  The study divided into 5 phases. Phase 1 was the study of the elements and the indicators. There were 9 participants who participated in this phase. Phase 2 was the study related to the current situations, desirable situations and the data were collected from 918 samples. Phase 3 was the investigation of the approaches to strengthen creative transformational leadership of school administrators, the participants were 5 of the experts.  Phase 4: was the design program to strengthen creative transformational leadership of school administrators. There were 9 experts who evaluate the program. Phase 5 was the implementation of the program. The participants were 11 school administrators under the jurisdiction of Khonkaen local government organization selected by purposive sampling.  The instruments used in the study consisted of test, evaluation form, questionnaire and interview questions. The data were analyzed using mean, percentage, standard deviation, Cronbach's alpha, Person’s simple correlation coefficient, modified priority needs index (PNI modified) and independent t-test. The results revealed that 1. The results of elements and indicators of creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization from focus group discussion shown that there were 6 elements and 35 indicators. The first indicator was vision comprised of 8 indicators. The second indicator 2 was inspirational motivation consisted of 3 indicators. The third indicator 3 was individualized consideration consisted of 6 indicators. The fourth indicator was intellectual stimulation consisted of 7 indicators. The fifth indicator was the flexibility and adaptability comprised of 7 indicators. The sixth indicator was teamwork consisted of 5 indicators. 2. The results of investigation the current situations and desirable situations of creative transformational leadership of school administrators under the jurisdiction of local government organization shown that overall of current situations rated in more level, when considering into each aspect founded that all aspects rated in more level. The desirable situations of creative transformational leadership of school administrators revealed that overall rated in more level, when considering into each aspect yielded that all aspects rated in more level. The modified priority needs index ranged by the least to the most needed as follows; teamwork rated 0.14, inspirational motivation, individualized consideration, intellectual stimulation rated 0.12, vision rated 0.10 and flexibility and adaptability rated 0.08 respectively. 3. Approaches to strengthen creative transformational leadership of school administrators raised from the connoisseurship by 9 experts, the results shown that there were 4 approaches as follows; self-study, study tour, training and integration in working. 4. Program of strengthening creative transformational leadership of school administrators raised from the connoisseurship by 9 experts. The elements of the program consisted of 3 parts. Part 1 consisted of the introduction, objectives, concepts and instructions of the program, part 2 comprised of details of the program included 6 modules as follows; module 1 was vision, module 2 was inspirational motivation, module 3 was intellectual stimulation, module 4 was individualized consideration, module 5 was the flexibility and adaptability and module 6 was teamwork. Part 3 was the evaluation of the program. There were 4 stages of the development; preparation basic skills, intensive developing, real situations and evaluation after development. The development of the program to strengthen creative transformational leadership of school administrators lasted 120 hours. 5. The results of development to strengthen creative transformational leadership of school administrators revealed that 1) Before developing, school administrators gained score which mean was 35.36 out of 50 scores rated 70.73 as percentage, scores after the developing was 42.91of mean which was out of 50 scores rated 85.82 as percentage. The difference of mean shown that scores after the developing were higher than before developing rated 15.33 of mean which significantly statistic at 0.5. All participants passed the 70 percentage of criteria.  2) The results of creative transformational leadership of school administrator level revealed that after the developing, all aspects of the creative transformational leadership were higher. The comparison of creative transformational leadership of school administrator level in the following up stage was higher in all aspects. 3) The results of evaluation by 3 of evaluators in order to follow up the level of creative transformational leadership of school administrator revealed that self-evaluation of the school administrator and evaluated by teachers, overall rated in more level.  4) The school administrators under the jurisdiction of local government satisfied with the program of strengthening creative transformational leadership rated in the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) ศึกษาวิธีการเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4) พัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5) ศึกษาผลการใช้โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พัฒนาขึ้น โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด มีผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ระยะที่ 2 การสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 918 คน ระยะที่ 3 วิธีการเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ มีผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 4 ออกแบบโปรแกรมและประเมินโปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และระยะที่ 5 เป็นการนำโปรแกรมไปใช้กับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลนครขอนแก่น จำนวน 11 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบ แบบประเมิน แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) และ Independent t-test  ผลการวิจัย พบว่า   1. ผลการประเมินองค์ประกอบและตัวชี้วัดภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 35 ตัวชี้วัด คือ องค์ประกอบที่ 1 การมีวิสัยทัศน์ (Vision) มี 8 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 2 การกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ (Inspirational motivation) มี 3 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 3 การคำนึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration) มี 6 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 4 การกระตุ้นให้ใช้ปัญญา (Intellectual Stimulation) มี 7 ตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ 5 การมีความยืดหยุ่นและปรับตัว (The flexibility and adaptability) มี 6 ตัวชี้วัด และองค์ประกอบที่ 6 การทำงานเป็นทีม (Teamwork) มี 5 ตัวชี้วัด 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ส่วนค่าดัชนีการเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNImodified) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรียงลำดับจากค่ามากไปหาน้อย ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ มีค่า 0.13 ด้านการกระตุ้นให้เกิดการสร้างแรงบันดาลใจ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการกระตุ้นทางปัญญาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ มีค่า 0.12 ด้านการทำงานเป็นทีม มีค่า 0.11 และการมีความยืดหยุ่นและปรับตัว มีค่า 0.08 ตามลำดับ 3. วิธีการเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีวิธีการเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ จำนวน 4 วิธี 1) การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2) การศึกษาดูงาน 3) การอบรม 4) การบูรณาการแบบสอดแทรกการปฏิบัติงาน 4. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีองค์ประกอบของโปรแกรมประกอบด้วย ส่วนที่ 1 บทนำ คือ ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวคิด หลักการและคำชี้แจงองค์ประกอบโปรแกรม ส่วนที่ 2 รายละเอียดของโปรแกรม ประกอบ ด้วย 6 โมดูล ได้แก่ โมดูลที่ 1 การมีวิสัยทัศน์ (Vision) โมดูลที่ 2 การกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation) โมดูลที่ 3 การกระตุ้นให้ใช้ปัญญา (Intellectual Stimulation) โมดูลที่ 4 การคำนึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration) โมดูลที่ 5 การมีความยืดหยุ่นและปรับตัว (The Flexibility and Adaptability) และโมดูล 6 การทำงานเป็นทีม (Teamwork) ส่วนที่ 3 การประเมินผลเพื่อนำไปสู่ภาคปฏิบัติตามภาระงานในหน้าที่ กระบวนการพัฒนามี 4 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมการสร้างทักษะพื้นฐานก่อนการพัฒนา ขั้นที่ 2 การพัฒนาเข้มตามโปรแกรมการพัฒนา ขั้นที่ 3 การนําไปสู่การปฏิบัติจริง และขั้นที่ 4 การประเมินหลังพัฒนา การดำเนินการพัฒนาเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใช้เวลาทั้งสิ้น จำนวน 120 ชั่วโมง  5. ผลการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา  สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากการนำโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นไปใช้ พบว่า 1) ผู้บริหารสถานศึกษา มีคะแนนก่อนพัฒนามีค่าเฉลี่ย 35.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 70.73 และมีคะแนนหลังการพัฒนามีค่าเฉลี่ย 42.91 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.82 โดยเมื่อทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนน พบว่าคะแนนหลังพัฒนาสูงกว่าคะแนนก่อนพัฒนาเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.33 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ทุกคน 2) ผลการประเมินระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลังการพัฒนามีระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนการพัฒนาทุกด้าน และเมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาระยะติดตามผลการพัฒนามีระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนการพัฒนาทุกด้าน 3) ผลการประเมินโดยกลุ่มผู้ประเมิน 3 ฝ่าย เพื่อติดตามผลหลังการพัฒนาเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า การประเมินของผู้บริหารสถานศึกษาประเมินตนเองและครูประเมินผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้บริหารโรงเรียนต่อโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectProgram Developmenten
dc.subjectCreative Transformational Leadershipen
dc.subjectLeadership of School Administratoren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Program to Strengthen Creative Transformational Leadership of School Administrators under the Jurisdiction of Local Government Organizationen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010560009.pdf10.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.