Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/992
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJompon Rattanaen
dc.contributorจอมพล  รัตนาth
dc.contributor.advisorThanadol Phuseeriten
dc.contributor.advisorธนดล ภูสีฤทธิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:29Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:29Z-
dc.date.issued3/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/992-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research was aimed at finding out the Effectiveness Index (E.I.) of a self-study visual aid for chronic kidney disease patients, determining the pre-learning and post-learning outcomes of using the self-study visual aid for chronic kidney disease patients of Chronic Kidney Disease (CKD) Clinic, Nongkhai Hospital, and observing the satisfaction after using the self-study visual aid entitled “Kidney Disease” for those patients of the CKD Clinic, Nongkhai Hospital.  The sample was the group of 115 chronic kidney disease stages G4 - G5 patients having been treated in the CKD Clinic, Nongkhai Hospital, selected by means of purposive sampling.  Tools used in this research comprised the self-study visual aid, an evaluation form of comprehension for using the self-study visual aid and an evaluation form of satisfaction of the chronic kidney disease patients towards the self-study visual aid.            The research results appeared as following: 1. The Effectiveness Index (E.I.) of the self-study visual aid for chronic kidney disease patients of the CKD Clinic, Nongkhai Hospital equals 0.49, denoting that the learning progression of the visual aid users is at 49%. 2. The results of using the self-study visual aid for chronic kidney disease patients of the CKD Clinic, Nongkhai Hospital revealed the patients, using the self-study visual aid developed by the researcher, got the average scores in total at 51.48% for pre-learning and 75.19% for post-learning.  That is to say, the pre-learning score on knowledge about kidney disease is at 66.67% and the post-learning score is at 87.83%.  The pre-learning score on food for chronic kidney disease patients is at 49.13% and the post-learning score is at 72.39%.  The pre-learning score on drug usage in chronic kidney disease patients is at 42.83% and the post-learning score is at 71.74%.  Finally, the pre-learning score on renal replacement therapy is at 51.09% and the post-learning score is at 71.96%.   3. The satisfaction of the patients using the self-study visual aid developed by the researcher is 4.47 on average, showing that the satisfaction is on the high level.  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย  เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม เพื่อศึกษาผลการใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อมคลิชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลหนองคาย ก่อนและหลังการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง โรคไต สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม คลินิกชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลหนองคาย กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มผู้ป่วยไตเสื่อมที่เข้ามารักษาในคลินิกชะลอไตเสื่อมโรงพยาบาลหนองคาย ซึ่งเป็นผู้ป่วยไตเสื่อม ระยะที่ 4-5 จำนวน 115 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง  แบบวัดความรู้ความเข้าใจการใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบวัดความพึงพอใจของผู้ป่วยไตเสื่อมมีต่อสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง           ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม คลินิกชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลหนองคาย มีค่าดัชนีประสิทธิผล (The Effectiveness Index : E.I.) เท่ากับ 0.49 แสดงว่าผู้ใช้สื่อมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ ร้อยละ 49 2. ผลการใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม คลิชะลอไตเสื่อม  โรงพยาบาลหนองคาย พบว่าผู้ป่วยที่ใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีคะแนนรวมทุกด้าน พบว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 51.48 และหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 75.19 มีคะแนน ด้านความรู้เรื่องโรคไต พบว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 66.67 และหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 87.83 ด้านอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต พบว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 49.13 และหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 72.39 ด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไต พบว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 42.83 และหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 71.74 ด้านการบำบัดทดแทนไต พบว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 51.09 และหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 71.96 3. ผู้ป่วยที่ใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นพบว่ามีความพึงพอใจเฉลี่ยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ซึ่งอยู่ในระดับพึงพอใจมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสื่อวีดิทัศน์th
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยตนเองth
dc.subjectVideo mediaen
dc.subjectSelf-Direct Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping a Self-Direct Learning Video Media for Chronic Kidney Patient in Nongkai Hospitalen
dc.titleการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม คลินิกชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลหนองคายth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010580004.pdf4.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.