Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1007
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWalailuek Theaingtumen
dc.contributorวลัยลักษณ์  เที่ยงธรรมth
dc.contributor.advisorPaiboon Limmaneeen
dc.contributor.advisorไพบูลย์ ลิ้มมณีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:31Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:31Z-
dc.date.issued7/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1007-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research on the Development Guideline for Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan aimed to 1) to study the elements of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan 2) to study the current and desirable condition of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan and 3) to develop guideline for Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. The sample including the director of education and teachers for 327 people that derived by stratified random sampling technique. The instruments used data collection were questionnaires and interview. The data were analyzed by package computer program, percentage, mean and standard deviation. The research was divided into three phases. The first phase was to study on the elements of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. The second phase was to study the current and desirable condition of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. The third phase was to develop Guideline Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. Analysis, investigate and create Guideline Mentoring Internal Supervision for School. To find the proper of guideline by reference methods from experts. The results revealed that: 1. The elements of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. In summary, the elements of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan has 4 main components and 11 sub components and 40 indicators. As a whole aspect, the appropriate in the highest level which mean equal to 4.86. 2. The current condition of Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan of director consists of 4 components. As a whole aspect it was found that all components were at high level. The desirable condition of overall Mentoring Internal Supervision for School was at the highest level. 3. Guideline for Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan. There are 4 components consists of 1) Preparation supervision 2) Planning supervision 3) Operation supervision 4) Evaluation supervision. Guideline for Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkan was appropriate and possibility at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ และ 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 327 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 3 ระยะ คือระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ และระยะที่ 3 พัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยวิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบและสร้างแนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา หาแนวทางที่เหมาะสมโดยวิธีการอ้างอิงจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. องค์ประกอบของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มี 4 องค์ประกอบหลัก 11 องค์ประกอบย่อย และมี 40 ตัวบ่งชี้ โดยรวมอยู่ในระดับความเหมาะสมมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.86 2. สภาพปัจจุบันของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ของผู้บริหารและครูผู้สอน ทั้ง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. แนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ 1) ด้านการเตรียมการนิเทศ 2) ด้านการจัดทำแผนการนิเทศ 3) ด้านการนิเทศการปฏิบัติงาน 4) ด้านการประเมินผลการนิเทศ แนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงth
dc.subjectThe Development Guidelineen
dc.subjectMentoring Internal Supervisionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Guideline for Mentoring Internal Supervision for School Primary Educational Service Area Office Buengkanen
dc.titleการพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบพี่เลี้ยงสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58030580032.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.