Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1016
Title: System Development for Monitoring Borrowing Refund Disbursement of Devision of Planning Mahasarakham University
การพัฒนาระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Authors: Supakron Phansena
ศุภกร พันธุ์เสนา
Thanadol Phuseerit
ธนดล ภูสีฤทธิ์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาระบบกำกับและติดตาม
การยืมเงิน
คืนเงินยืม
เบิกจ่ายเงินราชการ
System Development for Monitoring
Borrowing
Refund
Disbursement of Division
Issue Date:  23
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this study were 1) to study the problem and need assessment of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University ; 2) to develop Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 3) to evaluate the efficiency of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 4) to evaluation the satisfaction of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University. The research was divided into 7 phases: 1) study of knowledge, knowledge Related to the development of information systems; 2) Survey needs for information systems; 3) develop conceptual framework; 4) Offer expert's assessment; 5) develop Information system; 6) testing and evaluating evaluation the efficiency information system; 7) Improve and implementation information system. The 24 population were managers, personnel and officers in the Division of Planning, Mahasarakham University. The research instruments included: 1) Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 2) questionnaires to ask about the problem and needs assessment of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 3) evaluate form for evaluating the quality of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 4) evaluate form for evaluating the efficiency of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University; 5) questionnaires to ask about the satisfaction of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University. The collected data were analyzed using a percentage, a mean, a standard deviation The Result of this research as follows: 1. The result of a problem and needs assessment survey of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University found that managers, personnel and officers were in a high level at all aspects were: Financial operations, Contact, and coordination, Public relations information, Public relations, information. 2. The result of evaluating the quality of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in Division of Planning, Mahasarakham University by experts found that aspect of Financial expert in highest level, the aspect information system and the computer has a quality in high level and the aspect Educational Technology and Communications has a quality in high level. 3. The result of evaluating the efficiency of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in the Division of Planning, Mahasarakham University by users found efficiency in the highest level. 4. The result of satisfaction evaluation of Monitoring Borrowing Refund Disbursement system in the Division of Planning, Mahasarakham University found mangers, personnel, and officers have a satisfaction highest level. In conclusion, the Information system developed can solve the problem in the work of the operation of correspondence. The information system has Line massager and Email alerts for users to take timely action. Helps in tracking work and support the job of the unit effectively.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความต้องการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) พัฒนาระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) ประเมินประสิทธิภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหาร บุคลากร ต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาองค์ความรู้ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ 2) สำรวจความต้องการใช้งานระบบสารสนเทศ 3) พัฒนาร่างต้นแบบกรอบแนวคิดการพัฒนาระบบสารสนเทศ 4) เสนอผู้เชี่ยวชาญการประเมินตรวจสอบ 5) พัฒนาระบบสารสนเทศ 6) ทดสอบและประเมินประสิทธิภาพระบบ 7) ปรับปรุงและนำระบบสารสนเทศไปใช้งานจริง กลุ่มประชากร ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการกองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) แบบสอบถามความคิดเห็นและความต้องการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) แบบประเมินคุณภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4) แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบ ระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แบ่งออกเป็นรายด้าน คือ ด้านการดำเนินงานด้านการเงิน ด้านการติดต่อประสานงาน ด้านการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และด้านระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงาน พบว่า ผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ มีปัญหาและความต้องการใช้งานระบบสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก 2. ผลการประเมินความเหมาะสมของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินประเมินความเหมาะสมของระบบสารสนเทศมีความเหมาะสมอยู่ในระดับระดับมากที่สุด ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ประเมินความเหมาะสมของระบบสารสนเทศ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาประเมินความเหมาะสมของระบบสารสนเทศ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผู้ใช้งาน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด   4. ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ มีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อยู่ในระดับมากที่สุด โดยสรุป ระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ  กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่พัฒนาขึ้น สามารถแก้ปัญหาการดำเนินงานด้านงานการเงินได้เป็นอย่างดี ระบบสารสนเทศมีการแจ้งเตือนเพื่อให้ผู้ใช้งานดำเนินการได้ทันท่วงที และช่วยในการกำกับติดตามงานและสนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1016
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010580017.pdf5.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.