Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNittaya Nilaraten
dc.contributorนิตยา นิลาราชth
dc.contributor.advisorYannapat Seehamongkonen
dc.contributor.advisorญาณภัทร สีหะมงคลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:33Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:33Z-
dc.date.issued21/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1018-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) to create a learning evaluation tool for solving mathematical problems. For students in Mathayom 1 and 2) Finding the quality of assessment tools for learning math problem solving for Mathayomsuksa 1 students. Along with the organization of learning activities according to Polya's problem solving process Target groups used in this research Including Mathayom Suksa 1 students at Nanongthum wittaya School Chaiyaphum Secondary Educational Service Area Office, Semester 2, Academic Year 2020 Number of students: 1 classroom, number of students 39 people Which was obtained by cluster random sampling There are 3 types of research instruments: (1) The quiz is a 4-choice answer to solving math problems. For students in Mathayom 1 (2) Student self-assessment (3) Record form reflecting students' effect on solving math problems. The statistics used for data analysis were Conformity Index (IOC), confidence, difficulty and discriminant power.                                                                  The research results are as follows:                                                                  1. The tools used in the assessment for learning consist of                                    1.1 The test is a test with 4 options, 20 questions (before study-after Subject to solving problems of linear equations, one variable and solving problems of ratio, proportions and percent, units of 10 items.                                               1.2 Student self-assessment in comments Feelings and behavior Towards solving math problems of 20 questions                                                               1.3 Record form for reflecting students' results on solving math problems. For students in Mathayom 1 In terms of opinions, knowledge, skills and interpersonal relationships towards solving 15 math problems.                              2. Results of the Quality Study of the Learning Assessment Tool                                              2.1 A test for solving math problems for Mathayomsuksa 1 The 20 clauses had the difficulty from 0.48 to 0.74, the classification from 0.21 to 0.58, and the confidence in the whole of 0.88.                                                 2.2 Student self-assessment In the opinion side Feeling And behavior For solving math problems of 20 questions For student self-assessment after class Have a classifying authority from 0.41 to 0.71 with an overall confidence value of 0.90.                                        2.3 The notes form for reflecting the results of solving math problems of the students For students in Mathayom 1 In terms of opinions, knowledge, skills and interpersonal relationships to solve 15 math problems.                                     In conclusion, the construction of assessment tools for learning about solving math problems. for students in Mathayom 1 This is to create an assessment tool for learning that is suitable and quality. A learning assessment tool can be applied to the management of mathematics learning for students.. And able to develop students 'potential as well as increase students' ability to solve mathematical problems.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีความมุ่งหมาย 1) เพื่อสร้างเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2) เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาหนองทุ่มวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 39 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ประเภท ได้แก่ (1) แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (2) แบบประเมินตนเองของนักเรียน (3) แบบบันทึกการสะท้อนผลของนักเรียนต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ค่าความเชื่อมั่น ค่าความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนก                                        ผลการวิจัยปรากฏดังนี้                                                              1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเพื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย                                                  1.1 แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ ก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และการแก้โจทย์ปัญหาอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ หน่วยการเรียนรู้ละ 10 ข้อ                                                          1.2 แบบประเมินตนเองของนักเรียน ในด้านความคิดเห็นด้านความรู้สึก และด้านพฤติกรรม ที่มีต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จำนวน 20 ข้อ                                1.3 แบบบันทึกการสะท้อนผลของนักเรียนต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในด้านความคิดเห็น ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มีต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จำนวน 15 ข้อ                               2. ผลการศึกษาคุณภาพของเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้                                     2.1 แบบทดสอบ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.48 ถึง 0.74 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.21 ถึง 0.58 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.88                                                 2.2 แบบประเมินตนเองของนักเรียน ในด้านความคิดเห็น ด้านความรู้สึก และด้านพฤติกรรม ที่มีต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จำนวน 20 ข้อ เพื่อประเมินตนเองของนักเรียน หลังเรียน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.41 ถึง 0.71 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.90                            2.3 แบบบันทึกการสะท้อนผลของนักเรียนต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในด้านความคิดเห็น ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่มีต่อการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จำนวน 15 ข้อ                                 โดยสรุป การสร้างเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นการสร้างเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสม มีคุณภาพ สามารถนำเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้ไปใช้กับการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีพัฒนาการเรียนรู้ที่ดีขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectเครื่องมือการประเมินth
dc.subjectการประเมินเพื่อการเรียนรู้th
dc.subjectโจทย์ปัญหาth
dc.subjectcreationen
dc.subjectassessmenten
dc.subjectlearningen
dc.subjectproblem-solvingen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleCreation of Assessment Tool for Learning Mathematics Problem Solving for Mathayomsuksa 1 Studentsen
dc.titleการสร้างเครื่องมือการประเมินเพื่อการเรียนรู้ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010581004.pdf6.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.