Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorOrapan Hanthalaengen
dc.contributorอรพรรณ  หันแถลงth
dc.contributor.advisorAtthapon Intasenaen
dc.contributor.advisorอัฐพล อินต๊ะเสนาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:34Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:34Z-
dc.date.issued2/9/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1025-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were (1) to study the needs about the current and the desired conditions for Visionary Leadership of School Administrators under Provincial Administrative Organization Mahasarakham, and (2) to develop of the Guidelines for Visionary Leadership of School Administrators under Provincial Administrative Organization Mahasarakham. The research were 2 phases (1)  survey  the needs about the current and the desired conditions for Visionary Leadership of School Administrators under Provincial Administrative Organization Mahasarakham by study from concept and the theory for synthetic the elements and the indicators then to make the questionnaire check and evaluation possibility, suitability by the 5 experts with Purposive Sampling. (2) to develop of the Guidelines for Visionary Leadership of School Administrators under Provincial Administrative Organization Mahasarakham. The sample were checked and evaluated with focus group by the 9 experts. The sample were administrators, teachers and the educational Supervisor who work at Provincial Administrative Organization Mahasarakham in 2018 by Stratified Random Sampling. Statistics used for data analysis are percentage, mean and standard deviation. The results are as followed : 1. Components and indicators of visionary leadership enhancement of school administrators under the Maha Sarakham Provincial Administration Organization. There are 5 components, 28 indicators as follows. Element 1 in empowerment has 7 indicators. Element 2: Creating Vision There are 5 indicators. Element 3: Vision implementation. There are 6 indicators. Element 4: Vision distribution. There are 5 indicators. Element 5: Being a good role model. 5 indicators. The overall assessment of the suitability and possibility is at the highest level. The results of the analysis of the current conditions were found to be at a high level (x̅ = 4.03, S.D. = 0.81) and the desirable condition (x̅ = 4.60, S.D. = 0.51). 2. Result of a the Guidelines for Visionary Leadership of School Administrators under Provincial Administrative Organization Mahasarakham There were 5 elements and 43 guidelines .The result by 5 experts and reported that the model’s possibility, suitability and utility are at the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของแนวทางการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม 2) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม โดยการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 สำรวจสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคามศึกษา โดยการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวบ่งชี้เพื่อสร้างเป็นแบบสอบถาม ตรวจสอบและประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม  กลุ่มผู้ให้ข้อมูลซึ่งทำหน้าที่ตรวจสอบและประเมินรูปแบบโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตัวอย่างที่ใช้คือ ผู้บริหาร ครู ศึกษานิเทศ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ปีการศึกษา 2560 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม มี 5 องค์ประกอบ 28 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการเสริมสร้างพลังอำนาจ มี 7 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ มี 5 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ มี 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 4 ด้านการเผยแพร่วิสัยทัศน์ มี 5 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 5 ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี มี 5 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน พบว่า อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.03, S.D. = 0.81) และสภาพที่พึงประสงค์ (x̅ = 4.60, S.D. = 0.51) 2. แนวทางการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคามมี 43 แนวทาง 5 ด้าน ด้านการเสริมสร้างพลังอำนาจ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ ด้านการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ ด้านการเผยแพร่วิสัยทัศน์ และด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน พบว่า มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ ระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์th
dc.subjectGuidelines for Developmenten
dc.subjectVisionary Leadershipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment Guidelines for Visionary Leadership of School Administrators  under Porvincial Administratrative Organization Mahasarakhamen
dc.titleการพัฒนาแนวทางเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586027.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.