Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRatchanok Siangboonen
dc.contributorรัชนก เสี่ยงบุญth
dc.contributor.advisorSakorn Atthajakaraen
dc.contributor.advisorสาคร อัฒจักรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:37Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:37Z-
dc.date.issued29/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1040-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract    The objectives of this research were to 1) study the current and desirable conditions of the administration to the basic education standards, and 2) develop the guidelines of administration to the basic education standards. The research divided into 2 phases as follows: Phase 1: study the current state and the desirable state of the administration to basic education standards. The samples were administrators and teachers from schools under the Office of Secondary Educational Service Area 20, Academic Year 2019, the researcher determined the sample size by using the Krejci and Morgan table. The samples were 346 persons and used a stratified random sampling method to selected the sample group. The research instrument used to collect data were questionnaires of current and desirable conditions. Phase 2: develop the guidelines of administration to the basic education standard. Key informants consisted of the administrators from 3 pilot schools and 5 luminaries selected by purposive sampling. The research instruments for this phase were semi-structured interviews and an assessment form of guidelines on suitability and possibility. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and priority needs index. The research results were as follows:    1. The current state of administration to the basic education standards overall and all aspects were at moderate levels and the desirable state of administration to basic education standards overall and all aspects were at high levels.    2. The guidelines of administration to basic education standards consisted of 8 components, 28 indicators, 45 guidelines as follows: 1) the educational standard setting 5 guidelines, 2) the preparation of educational management development plans of educational institutions that focus on quality according to Educational standards of educational institutions 9 guidelines, 3) management system and information 5 guidelines 4) implementation of the educational management development plan of educational institutions 5 guidelines 5) education quality monitoring 5 guidelines, 6) The internal quality assessment in accordance with the educational standards of the educational institutes 5  guidelines, 7) the preparation of the annual report of the educational institutes 5 guidelines, and 8) the development of the educational quality 6 guidelines, the results of guidelines suitability assessed and guidelines possibility assessed both overall were at a high levels.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 2) การพัฒนาแนวทางการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 346 คน และทำการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนต้นแบบ จำนวน 3 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยขั้นตอนนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยปรากฏดังนี้    1. สภาพปัจจุบันของการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก    2. แนวทางการบริหารมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ 28 ตัวชี้วัด 45 แนวทาง ดังนี้ 1) ด้านการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 5 แนวทาง 2) ด้านการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 9 แนวทาง 3) ด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 5 แนวทาง 4) ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5 แนวทาง 5) ด้านการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5 แนวทาง 6) ด้านการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 5 แนวทาง 7) ด้านการจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา 5 แนวทาง และ 8) ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 6 แนวทาง โดยมีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการบริหารการศึกษาth
dc.subjectมาตรฐานการศึกษาth
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectEducation Administrationen
dc.subjectEducational Standardsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping Guidelines of Administration to The Basic Education Standardsen
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารสู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580045.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.