Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1049
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kroekkiat Narin | en |
dc.contributor | เกริกเกียรติ นรินทร์ | th |
dc.contributor.advisor | Hemmin Thanapatmeemamee | en |
dc.contributor.advisor | เหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณี | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:26:38Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:26:38Z | - |
dc.date.issued | 14/11/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1049 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The development of blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science for grade 5 students aimed (1) to develop blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science for Grade 5 students to achieve the criteria 80/80 of effectiveness, (2) to compare learning achievement and critical thinking skill of students before and after learning through blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science, (3) to compare learning achievement and critical thinking skill of students between learning through blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science and traditional learning, (4) to evaluate teamwork skill of students who learnt through blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science, and (5) to study the students’ satisfaction toward blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science. The sample of the study was 60 students who were studying in grade 5 of Baan Nonghan (Wankru2502) School. The sample was selected by cluster random sampling. The instruments used in the study comprised of 1) 16 hours of lesson plans, 2) learning achievement pre-test and post-test consisted of 30 items and 4 multiple choices which the difficulty was ranged 0.36-0.75, the discrimination was ranged 0.24-0.48 and the reliability was 0.76, 3) critical thinking skills test consisted of 20 items and 4 multiple choices which the difficulty was ranged 0.22-0.79, the discrimination was ranged 0.20-0.67 and the reliability was 0.85, 4) teamwork skill evaluation form which the index of congruence was 0.75, the discrimination was ranged 0.21-0.45 and the reliability was 0.85, 5) 15 items of satisfaction questionnaire which the index of congruence was 0.95, the discrimination was ranged 0.25-0.47 and the reliability was 0.79. The statistics used to analyze data were percentage, mean and standard deviation. T-test independent was used to test the hypothesis. The results of the study revealed that 1. The results of developing blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science for grade 5 students achieved the criteria 80/80 (80.83/82.55) of effectiveness. 2. The results of comparison learning achievement shown that the result of post-test was higher than pre-test with .05 statistics significantly. The results of comparison critical thinking skills shown that the score of critical thinking skills after learning was higher than before learning with .05 statistics significantly. 3. The results of learning achievement of blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science was higher than the traditional learning with .01 statistics significantly which the experimental group had higher score than the control group. The results of critical thinking skills of blended learning integrated with collaborative learning (TGT) to promote critical thinking skills and teamwork in computing science was higher than the traditional learning with .01 statistics significantly which the experimental group had higher score than the control group. 4. The results of teamwork evaluation shown that students performed participation in good level which x̄ was 2.73 and was S.D. 0.07. 5. The results of students’ satisfaction shown that mean was rated in the most level which x̄ was 4.72 and was S.D. 0.49. | en |
dc.description.abstract | การพัฒนาการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความมุ่งหมายของการวิจัย (1) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่เรียนด้วยการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ระหว่างการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (4) เพื่อประเมินการทำงานเป็นทีมของนักเรียนด้วยการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (5) เพื่อวัดความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองหาน (วันครู2502) จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เป็นจำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ มีค่า ความยากง่าย (P) 0.36-0.75 ค่าอำนาจจำแนก (r) 0.24-0.48 ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.76 3) แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อมีค่า ความยากง่าย (P) 0.22-0.79 (r) 0.20-0.67 ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.85 4) แบบประเมินการทำงานเป็นทีม มีค่า IOC 0.75 อำนาจจำแนกมีค่าเท่ากับ 0.21-0.45 ค่าความเชื่อมั่น 0.85 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 15 ข้อ มีค่า IOC 0.95 อำนาจจำแนกมีค่าเท่ากับ 0.25-0.47ค่าความเชื่อมั่น 0.79 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานด้วย T-test dependent ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ผลการพัฒนาการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (80.83/82.55) นี้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีคะแนนผลสัมฤทธิ์สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิค TGT กับการสอนปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุม ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ระหว่างการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิค TGT กับการสอนปกติแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มทดลองมีคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่ากลุ่มควบคุม 4. ผลการประเมินการทำงานเป็นทีมของนักเรียน มีคะแนนทักษะการมีส่วนอยู่ในระดับดี ค่า x̅ ที่ 2.73 ค่า S.D. 0.07 5. ผลการวัดความพึงพอใจของผู้เรียน มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่า x̅ ที่ 4.72 ค่า S.D. 0.49 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจัดการเรียนการสอน | th |
dc.subject | ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ | th |
dc.subject | เทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือTGT | th |
dc.subject | การทำงานเป็นทีม | th |
dc.subject | Learning and Teaching | en |
dc.subject | Critical Thinking Skills | en |
dc.subject | Collaborative Learning (TGT) Technique | en |
dc.subject | Teamwork | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Development of A Blended Learning Integrated with Collaborative Learning (TGT) Promoting Critical Thinking Skills and Teamwork for Grade 5 Students | en |
dc.title | การพัฒนาการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยเทคนิคเรียนรู้แบบร่วมมือ TGT เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการทำงานเป็นทีม วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010580001.pdf | 4.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.