Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1062
Title: | Development of Japanese Reading for Main Idea and Retention Using Directed-Reading-Thinking Activity for Matthayomsuksa 5 Students การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความและความคงทนในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 |
Authors: | Mantana Suksong มัณฑนา สุขสงค์ Jiraporn Chano จิระพร ชะโน Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | กิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA การอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่น ความคงทนในการเรียนรู้ DR-TA Reading Activities Japanese Reading for Main Idea Learning Retention |
Issue Date: | 21 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The study aims; 1) to develop ability in Japanese reading for main idea by using DR-TA activities of Matthayomsuksa 5 Students according to 80 percent of criterion, and 2) to explore learning retention of Matthayomsuksa 5 Students obtaining DR-TA activities. The focus group is a classroom of Matthayomsuksa 5 with 30 students studying in Art-Japanese Program of Mahasarakham University Demonstration Secondary School. The study was conducted with the classroom action research with 3 circles as a research method. 24-hour circle lesson plans using DR-TA activities, spiral quizzes and questionnaire for 3 circles, and a test of Japanese reading for main idea ability were conducted as research instruments. The statistics used for analyzing the collected data were mean, standard deviation, percentage and dependent t-test.
The results of the study indicated that:
1. 89.8 percent of the focus group obtaining DR-TA activities achieved 80 percent of their score on the test of Japanese reading for main idea ability as a criterion, and also.
2. the focus group obtaining DR-TA activities showed gains in learning retention at the .05 level of significance. การวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่น สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนในหลักสูตรศิลป์-ภาษาญี่ปุ่น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 30 คน รูปแบบที่ใช้ในการวิจัยคือการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ประกอบด้วยวงจรปฏิบัติการวิจัย 3 วงจร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่น ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่นโดยการจัดกิจกรรมการอ่านแบบ DR-TA จำนวน 12 แผน 24 ชั่วโมง 2) เครื่องมือในการสะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบตรวจสอบความคิดเห็นของนักเรียน และแบบทดสอบท้ายวงจร แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 3 ชุด ๆ ละ 20 ข้อ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่นและใช้เป็นแบบทดสอบวัดความคงทนในการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นด้วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนจากการวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาญี่ปุ่นผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 89.8 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของวิจัย 2. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนและคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตรงตามสมมุตฐานที่ตั้งไว้ |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1062 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010585029.pdf | 7.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.