Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1068
Title: The Development of Learning Achievement on Biology and Problem Solving Thinking Ability of Mathayomsuksa-5 Student Unit by Using Problem Based Learning
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน
Authors: Netnapit Kum-onsa
เนตรนพิธ คำอ่อนสา
Thanarat Sripongngam
ธนารัตน์ ศรีผ่องงาม
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา
การคิดแก้ปัญหา
Problem Based Learning
Learning Achievement on Biology
Problem Solving Thinking
Issue Date:  11
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research were 1) to develop of achievement on biology to pass the criteria 70 percent and 2) to develop of problem solving thinking ability to pass the criteria 65 percent for the students who learned using organization of Problem-based Learning. T The sample in this study consisted of 21 students Matthayomsueksa 5 at Thetsaban Burapha Phitthayakhan School, Muang Mahasarakham, Maha Sarakham. Province in the second semester of the academic year 2019. The instrument used in this study were 1) plans for learning by using problem-based learning, with 8 plans for 12 hours of learning 2) Observational tools were 2 set of learning achievement tests 3) 2 set of problem-solving tests 4) observation forms for observing behaviors of ability in problem-solving. Whereas action research approach used in this study composed of 2 spiral, which the first spiral used for the first to the four plan, the second spiral used for the five to the eight plan. The statistics used for analyzing the collected data were mean, percentage and standard deviation. The results of the study were as follows           The findings pointed that first learning cycle, students had 69.29 % of learning achievement, 63.69% of problem-solving. And information from observing, Students lack their confidence, don’t dare to ask the teacher and to explain their opinions. Students aren’t able to tell the cause of the problem. Show that students are not understood in the problem and students aren’t able to tell the reason of problem solving.           The second learning cycle, students had 77.38% of learning achievement, 67.56% of problem-solving. And information from observing, Students have the confidence to share their opinions. Students able to tell the cause of the problem. Show that students are understand in the problem and students able to tell the reason of problem solving.           In conclusion, problem-based learning had effectiveness and influenced to develop biology achievement and problem solving ability of target group. Therefore, teacher can use this learning by apply in a suitable situation.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อพัฒนาการคิดแก้ปัญหา ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 65 โดยการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 21 คน ที่กำลังศึกษาในรายวิชาชีววิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเทศบาลบูรพาพิทยาคาร อ.เมือง จ. มหาสารคาม เครื่องมือใช้ในการทดลอง ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน วิชาชีววิทยา เรื่องระบบหมุนเวียนเลือดและระบบขับถ่าย จำนวน 8 แผน เวลา 12 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 2 ชุด ชุดละ 20 ข้อ 3) แบบทดสอบการคิดแก้ปัญหาแบบอัตนัย จำนวน 2 ชุด ชุดละ 5 สถานการณ์ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการคิดแก้ปัญหา การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีวงจรการปฏิบัติ 2 วงจร ได้แก่ วงจรปฏิบัติการที่ 1 ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-4 วงจรปฏิบัติการที่ 2 ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5-8 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และและนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเป็นร้อยละ 69.29 การคิดแก้ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 63.69 จากข้อมูลการสังเกต นักเรียนขาดความมั่นใจในตนเองไม่กล้าซักถามถามครู และไม่กล้าที่จะอธิบายแสดงความคิดเห็น นักเรียนยังไม่สามารถบอกสาเหตุของปัญหาได้แสดงให้เห็นว่านักเรียนยังไม่มีความเข้าใจในปัญหา และนักเรียนยังไม่สามารถบอกเหตุผลของการแก้ปัญหาได้ วงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเป็นร้อยละ 77.38 การคิดแก้ปัญหา คิดเป็นร้อยละ 67.56 นักเรียนมีความมั่นใจในการแสดงความคิดเห็น นักเรียนสามารถบอกสาเหตุของปัญหาได้แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความเข้าใจในปัญหามากขึ้น และนักเรียนสามารถบอกเหตุผลของการแก้ปัญหาได้ โดยสรุปการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยาและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้ ครูผู้สอนจึงสามารถนาการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จยิ่งขึ้นไป
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1068
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010551003.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.