Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuwimol Pawangen
dc.contributorสุวิมล ภาวังth
dc.contributor.advisorSumalee Choochumpangen
dc.contributor.advisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:41Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:41Z-
dc.date.issued7/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1073-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract          The purpose of this action research was to develop the collaborative problem solving competency Ability of student in grade 10th in order to pass the criteria of 70 percent of full score. The purposive sampling consisted of 20 grade 10th student who were studying in the second semester, academic year 2019, at Borabu school in Mahasarakham province. The methodology of this research was classroom action research consisting of 3 cycles. The research instruments were: 9 lesson plans of Deeper Scaffolding Framework, the collaborative problem solving competency observation form, the collaborative problem solving activity worksheet and the collaborative problem solving competency test.           The research presented that in the first cycle, 3 students (15%) had pass the criteria of 70 percent of full score. In the second cycle, 6 students (35.29%) had pass the criteria of 70 percent of full score. In the third cycle, 9 students (81.82%) had pass the criteria of 70 percent of full score.en
dc.description.abstract          การวิจัยปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ที่มีปัญหาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 20 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รูปแบบการวิจัยเป็นวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจำนวน 3 วงจรปฏิบัติการเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบเสริมต่อการเรียนรู้บนฐานของการใช้ปัญหาเป็นฐานจำนวน 9 แผน แบบสังเกตสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ใบกิจกรรมการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และแบบทดสอบสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ           ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 15 วงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 35.29 วงจรปฏิบัติการที่ 3 นักเรียนมีสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสมรรถนะการเเก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เเบบเสริมต่อการเรียนรู้บนฐานของการใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectcollaborative problem solving competencyen
dc.subjectDEEPER scaffolding frameworken
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of the competency in Collaborative Problem Solving by Using learning Management Through Deeper Scaffolding Framework of Mathayomsuksa 4 studenten
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเสริมต่อการเรียนรู้บนฐานของการใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556013.pdf6.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.