Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1075
Title: Developing Problem-Solving Ability of Mathayomsuksa 4 Students in Physics by Using Torrance's Future Problem Solving Instructional Model
การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาฟิสิกส์ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอร์แรนซ์
Authors: Asanlaya Duangrawa
อศัลยา ดวงระหว้า
Prasart Nuangchalerm
ประสาท เนืองเฉลิม
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ความสามารถในการแก้ปัญหา
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคต
Torrance’s future problem solving instructional model
problem-solving ability
Issue Date:  5
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This action research aimed to develop the problem-solving ability of Mathayomsuksa 4 students by using Torrance’s future problem solving instructional model. The purposive sampling were 15 students who has a problem-solving ability’s score in low criteria. The research instrument were 1) four lesson plans with 8 hours, 2) problem-solving ability tests, 3) observation form of problem-solving ability and 4) students’ interview form. The finding showed that 15 students has not pass the 70 percent criteria of the problem-solving ability’s score before use Torrance’s future problem solving instructional model. It is 50 percent of total students in this class. The fourth spiral was finished, All students has problem-solving ability’s score pass the 70 percent of criteria.
การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้โดยมีวัตถุประสงค์​เพื่อพัฒนา​ความสามารถ​ในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา​ปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคต กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 15 คนที่คัดมาจากคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหาอนาคต จำนวน 4 แผน 8 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา​แบบอัตนัย 3) แบบสังเกตพฤติกรรมความสามารถในการแก้ปัญหา และ 4) แบบสัมภาษณ์นักเรียน โดยผลการวิจัยพบว่า ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนที่มีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม มีจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ของนักเรียนทั้งหมด หลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 4 นักเรียนทุกคนมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1075
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556018.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.