Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1077
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pimpicha Ekkapan | en |
dc.contributor | พิมพิชา เอกพันธ์ | th |
dc.contributor.advisor | Montri Thongmoon | en |
dc.contributor.advisor | มนตรี ทองมูล | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:26:42Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:26:42Z | - |
dc.date.issued | 29/9/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1077 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This thesis is the action research. The objective is to improve the mathematical literacy based on the context based learning activities for Matthayomsuksa 5 students. The criteria is satisfying over 60 percent. The target group is 11 students from Matthayomsuksa 5/5, Borabu School in second semester of 2562, is selected by applying the purposive sampling technique. The methodology are that we apply 5 plans of the context based learning combining with the KWDL technique the evaluation in mathematical learning and the interview form. We apply the mean, percent and standard deviation for analyzing data. The results found that the mathematical literacy in the introduction to graph theory subject of students after learning with our technique, we notice that our method improve mathematical skills of students as the following results. In the first spiral, the percentage of eleventh students were 60, 64, 48, 60, 68, 44, 60, 60, 44, 60, 60, and 60 percent, respectively. In the first spiral had 9 students over 60 percent. Afterward, we apply our method with the KWDL technique to second spiral, the percentage of eleventh students were 80, 76, 64, 76, 88, 76, 68, 60, 84, 80, and 68 percent, respectively. This mean that over 60 percent satisfying our criteria. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้คะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็มกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 โรงเรียนบรบือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน จำนวน 5 แผน แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคนิค KWDL จำนวน 5 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถในการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ประเภทอัตนัย และแบบสัมภาษณ์นักเรียน รูปแบบการวิจัย คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า : ความสามารถในการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังจากที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน เรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้น กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 11 คน ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 เมื่อคิดจากคะแนนเต็ม พบว่า คนที่ 1 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 2 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 64 คนที่ 3 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 48 คนที่ 4 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 5 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 68 คนที่ 6 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 7 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 8 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 44 คนที่ 9 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 10 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 และคนที่ 11 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็มจำนวน 9 คน หลังจากที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับเทคนิค KWDL เรื่องทฤษฎีกราฟเบื้องต้นในวงจรปฏิบัติการที่ 2 เมื่อคิดจากคะแนนเต็ม พบว่า คนที่ 1 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 80 คนที่ 2 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 76 คนที่ 3 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 64 คนที่ 4 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 76 คนที่ 5 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 88 คนที่ 6 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 76 คนที่ 7 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 68 คนที่ 8 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 60 คนที่ 9 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 84 คนที่ 10 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 80 และคนที่ 11 ได้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 68 ซึ่งนักเรียนทุกคนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน | th |
dc.subject | ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น | th |
dc.subject | Mathematical literacy | en |
dc.subject | Context-Based Learning | en |
dc.subject | Graph theory | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development of Mathematical Literacy for Matthayomsuksa 5 students in Graph theory section using Context-Based Learning | en |
dc.title | การพัฒนาการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61010556024.pdf | 5.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.