Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1087
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Issaranurak Chooglin | en |
dc.contributor | อิสรานุรักษ์ ชูกลิ่น | th |
dc.contributor.advisor | Prasart Nuangchalerm | en |
dc.contributor.advisor | ประสาท เนืองเฉลิม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:26:43Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:26:43Z | - |
dc.date.issued | 20/8/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1087 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to improve scientific concepts of eighth-grade students by the evaluate alternative model, in order to achieve complete understanding levels. The target group was 29 eighth grade students in the second semester of the academic year 2019. Action research was conducted in this research which was 5 cycles. The research instruments were: 1) 10 lesson plans of the evaluate alternative model, 2) the multiple-choice test with rational explanations, 3) the semi-structured interview, and 4) the observation form. The research showed that students had scientific concepts on complete understanding levels on all items of each cycle. When considering each cycle, it was found as follows: The research showed that students had scientific concepts on complete understanding levels. The details of each loop were as follows in 1, 2, 3, 4, and 5 loops were 13.79, 27.59, 34.48, and 41.38 percentage, respectively | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนามโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการประเมินทางเลือก ให้อยู่ในระดับมโนทัศน์ที่สมบูรณ์กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 29 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 5 วงจรปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการประเมินทางเลือกเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง จำนวน 10 แผนการเรียนรู้ เวลา 15 ชั่วโมง แบบทดสอบมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ แบบสัมภาษณ์นักเรียนแบบกึ่งโครงสร้างและแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีระดับมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์คือ มีความเข้าใจมโนทัศน์ที่สมบูรณ์ (CU) ทุกข้อ ในแต่ละวงจรปฏิบัติการมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นในวงจรปฏิบัติการที่ 1, 2, 3, 4, และ 5 เป็นร้อยละ 13.79, 27.59, 34.48, และ 41.38 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | รูปแบบการประเมินทางเลือก | th |
dc.subject | มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ | th |
dc.subject | โลกและการเปลี่ยนแปลง | th |
dc.subject | Scientific Concept | en |
dc.subject | The evaluate-alternative model | en |
dc.subject | Earth and Changes | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Development of Scientific Concept of Eighth Grade Students Using The Evaluate Alternative Model | en |
dc.title | การพัฒนามโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการประเมินทางเลือก | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61010585018.pdf | 6.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.