Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1110
Title: | Developing a Program to Strengthen Innovative Leadership of School Administrators under the Jurisdiction of Sisaket Primary Educational Service Area Office Region 1 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 |
Authors: | Jeerasak Namwong จีระศักดิ์ นามวงษ์ Pacharawit Chansirisira พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | โปรแกรม ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม การเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม Program Innovative Leadership Strengthen Innovative Leadership |
Issue Date: | 6 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The present study aimed 1) to investigate the current situations, desirable situations and needs of innovative leadership of school administrators under the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1, 2) to develop the program to strengthen innovative leadership of school administrators under the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1.The design of this study was mixed method which divided into 2 phases. Phase 1 was the study related to the current situations, desirable situations and needs of innovative leadership of school administrators under the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1. There was 222 sample consisted of school administrators and teachers who responsible for the head of academic department in school. The instrument used to collect data was the questionnaire of current situations, desirable situations and needs of innovative leadership of school administrators the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation and PNI Modified. Phase 2 was the development of the program to strengthen innovative leadership of school administrators in Sisaket primary educational service area office 1. There were 5 experts who evaluated the program. The instrument of the study were the appropriateness and possibility evaluation forms of the program to strengthen innovative leadership of school administrators the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1. The statistics used consisted of mean and standard deviation.
The results revealed that:
1. The results of the study related to the current situations of innovative leadership of school administrators under the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1 shown that overall of the current situations was rated in more level, when considered into each element revealed that all elements were also rated in more level. The desirable situations of innovative leadership of school administrators under the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1 shown that overall was rated in the most level, when considered into each element revealed that all elements were also rated in the most level.
2. The program to strengthen innovative leadership of school administrators in the jurisdiction of Sisaket primary Educational service area office region 1 shown that there were 6 elements comprised of principles, objectives, subjects, contents, procedures, and program evaluation. The contents divided into 3 modules as follows; vision, creative thinking and atmosphere of innovative organization. การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหัวหน้าฝ่ายวิชาการ จำนวน 222 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบพบว่าทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่าทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน 2. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 ประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กลุ่มเป้าหมาย 4) เนื้อหา 5) วิธีดำเนินการ และ 6) การประเมินผลโปรแกรม โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 Module ได้แก่ Module 1 ด้านการมีวิสัยทัศน์ Module 2 ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์ Module 3 ด้านการสร้างบรรยากาศแห่งองค์การนวัตกรรม |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1110 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61010586032.pdf | 3.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.