Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1135
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSanpet Siriketen
dc.contributorสรรเพชญ ศิริเกตุth
dc.contributor.advisorSutham Thamatasenahanten
dc.contributor.advisorสุธรรม ธรรมทัศนานนท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:49Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:49Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1135-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aims 1) study the current situation and desirable situation of the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province 2) to develop the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province. The study was divided into 2 sessions, the first session was to study the current situation and desirable situation of the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province. The population of this study were administrators and teachers from an informal school for 138 people selected by stratified sampling and a questionnaire was the tool of this research. The second session was to develop the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province. The significant information was collected from two administrators and teachers designated to supervise schools from three schools, totally six people and the seven experts selected by purposive sampling. The tools employed in this research were an interview and the assessment used to assess the suitability and possibility of school-participated internal supervision system. The statistics employed in this study were percentage, average, standard deviation, IOC, item discrimination, TNI and PNI. The result showed that 1. The current situation of the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province in overall was in the high level and the desirable situation of the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province was in the highest level. 2. The development of the school-participated internal supervision system under the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin province consists of 1) principle 2) objectives 3) operation consists of 5 methods as 3.1) supervision preparation 3.2) approach and practical methods of supervision 3.3) relevant tools for supervision 3.4) supervision operation 3.5) summary and supervision assessment 4) assessment 5) success condition and the result of the assessment of the suitability of the school-participated internal supervision system was highest level and the assessment of possibility was highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) พัฒนารูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ได้แก่ การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู กศน. จำนวน 138 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้ทำหน้าที่นิเทศสถานศึกษาจำนวน 3 แห่ง ๆ ละ 2 คน รวม 6 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ของรูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์การนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด  2. การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีดำเนินการ ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 3.1) ด้านการเตรียมการนิเทศ 3.2) ด้านวิธีและแนวปฏิบัติในการนิเทศ 3.3) ด้านเครื่องมือประกอบการนิเทศ 3.4) ด้านการดำเนินการนิเทศ 5) ด้านการสรุปและประเมินผลการนิเทศ 4) การประเมิน 5) เงื่อนไขความสำเร็จและผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectการนิเทศภายในth
dc.subjectแบบมีส่วนร่วมth
dc.subjectPattern Developmenten
dc.subjectInternal Supervisionen
dc.subjectParticipateden
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of School-participated Internal Supervision System the Office of the Non-formal and Informal Education of Kalasin Province Educationen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010586072.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.