Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSawat Wanphungaen
dc.contributorสวัสดิ์ วันภูงาth
dc.contributor.advisorSutham Thamatasenahanten
dc.contributor.advisorสุธรรม ธรรมทัศนานนท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:50Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:50Z-
dc.date.issued10/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1138-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe research aimed 1) to study the components and indicators of the management of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. 2) to study a present, desirable characteristic and the essential needs of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. 3) to develop of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. and 4) to Implementing the effect of using of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. The research was divided into 4 phases. Phase 1 study the components and indicators of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission by 9 experts. Phase 2 study a present, desirable characteristic and the essential needs. There were 360 samples consisting of administrators and teachers administrators and teachers Academic head teacher by Stratified Random Sampling. phase 3 develop of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. There were 12  by purposive Sampling of administrators and Academic head teacher and There were 9 experts by purposive Sampling. and Phase 4 Implementing the effect of using of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. Used for 14 people by purposive Sampling. Tools used in data collection Including questionnaires, assessments form, and interviews form. Statistics used in data analysis are percentage. Average and standard deviation. The results were as follows : 1. Elements and indicators of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission. have 6 components. 27 indicators and The assessment results were at a very high level. 2. The current circumstances with the whole picture were at medium level. The desirable characteristics with the whole picture were at highest level. the need for the development 1) Collaborative Teamwork, 2) Shared Values and Vision, 3) Shared Leadership, 4) Supportive Structure, 5) Professional Learning and Development and 6) Caring Community. 3. The development of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commission consists of 5 parts: Part 1, Principles, Concepts and Objectives, Part 2, Management using the professional learning community. Part 3 Guidelines for Application, Part 4 Evaluation and Part 5 Conditions for Success The results of the evaluation were found that the model was appropriate and possible at the high level. 4. The use of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education found that before and after using the When comparing the results Commission Have scores have higher post-development scores than before development there were significant differences at the level of .05 Before using supervision results at the high level After using at the very high level and the satisfaction was at a very high level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ได้แก่ ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูหัวหน้ากลุ่มฝ่ายบริหารวิชาการ จำนวน 360 คน ระยะที่ 3 พัฒนารูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีเป็นเลิศ จำนวน 6 โรงเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง ตรวจสอบยืนยันประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน เลือกแบบ ระยะที่ 4 ทดลองใช้รูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารและครู โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำนวน 1 ศูนย์เครือข่าย 14 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึก แบบประเมิน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ความเป็นไปได้ของรูปแบบ แบบทดสอบ และแบบนิเทศ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมมี 6 ด้าน 27 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้รวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันโดยรวมรายด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนา เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ด้านทีมร่วมแรงร่วมใจ ลำดับที่ 2 ด้านวิสัยทัศน์และค่านิยมร่วม ลำดับที่ 3 ด้านภาวะผู้นำร่วม ลำดับที่ 4 ด้านปัจจัยสนับสนุน ลำดับที่ 5 ด้านการเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ และลำดับที่ 6 ด้านชุมชนกัลยาณมิตร 3. ผลการพัฒนารูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 หลักการแนวคิดและวัตถุประสงค์ ส่วนที่ 2 การบริหารโดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ส่วนที่ 3 แนวทางการนำไปใช้ส่วนที่ 4 การประเมินผล ส่วนที่ 5 เงื่อนไขความสำเร็จ และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก 4. ผลการทดลองใช้รูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คะแนนประเมินความรู้หลังการเข้าร่วมรูปแบบสูงกว่าคะแนนประเมินความรู้ก่อนการเข้าร่วมรูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการประเมินการทำกิจกรรมตามรูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยรวมก่อนใช้อยู่ในระดับมาก หลังใช้อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการประเมินระดับความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectDevelopment of Modelen
dc.subjectProfessional Learning Communityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Model of Professional Learning Community Based for the Schools under the Office of The Basic Education Commissionen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010562012.pdf8.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.