Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1139
Title: The Internal Supervision Development System of Learning Management via Professional Learning Community for Extension Schools
การพัฒนาระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
Authors: Santi Hadtee
สันติ หัดที
Suwat Junsuwan
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาระบบนิเทศภายใน
การจัดการเรียนรู้
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
The Internal Supervision Development System
Learning Management
Extension Schools
Issue Date:  16
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purposes of this research was to 1) to study components of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools. 2) to study of current situation and desirable characteristics of the learning management supervision via professional learning community for extension schools. 3) to developed of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools. 4) to evaluate by using of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools. This research conducted using research and development process (Research and Development). The research comprised 4 procedures as follows: Phase 1) Study of component of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools, Phase 2) Study of current situation and desirable characteristics of internal supervision development system of learning management via professional learning community for extension schools. The study was conducted by a sample of 700 extension school administrators and teachers in the Northeastern Provinces, Phase 3) Developing of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools. By needs analysis (PNIModified) a study of vest practical supervision, a system-reengineering, and Focus Group Discussion in order to assure and evaluate the system by 9 experts selected by means of a purposive sampling, and Phase 4) Evaluation of the implementation of internal supervision development system of learning management via professional learning community for extension schools. The systematic evaluation was used by test 5 research participants and satisfied evaluation. Research results were as follows: 1. The Component of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools Consisted of 1) Strengthening leadership 2) Set up values and co-vision 3) Strive to learn and apply learning 4) Strive for Conditional support 5) Exchange learns about individual good practices. Evaluate the elements by qualified qualifications at most levels. 2. The Result of the current situation and desirable characteristics of internal supervision system of learning management via professional learning community for extension schools as a whole moderately level and expectation overall as high level. 3. The of internal supervision system of learning management via professional learning community system via professional learning community for extension schools consisted of Input consisted of 5 elements was ; 1) supervision Personnel 2) principles of supervision 3) Supervision Skill 4) The budget supports the supervision 5) supervision, Process  consist of 5 elements: 1) assign strategy of learning management supervision 2) planning on supervision learning Management 3) technical supervision, knowledge management, co-operation, cooperation, 4) professional Learning Community 5) Compliance Learning Management Supervision, output consisted of two elements: 1) Executives and teachers have a knowledge of understanding the management system to learn using a professional learning community. 2) Teachers have better handling teaching. Outcome consists of 2 elements: 1) school administrators and Teachers are satisfied with of internal supervision system of learning management via professional learning community for extended schools and learners have a higher achievement. Feedback consists of 2 elements: amendments, improvements, and development and reporting. The results of the system assessment are appropriate and possible at the highest level. 4. The results of the implementation of the internal supervision system on learning management by using the professional learning community for Extension Schools, the research have knowledge and understanding about the  After the development was 22.50% higher than before development and  were satisfied at the highest level.
งานวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 3) เพื่อพัฒนาระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 4) เพื่อประเมินผลการใช้ระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา การดำเนินการวิจัยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) แบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และประเมินองค์ประกอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 700 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ระยะที่ 3 พัฒนาระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยวิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNIModified) การศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีด้านการนิเทศ (Best Practice) ยกร่างระบบ และดำเนินการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อยืนยันและประเมินระบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และระยะที่ 4  ประเมินผลการนำระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาไปใช้ โดยการประเมินความรู้ความเข้าใจของครูผู้สอนผู้ร่วมวิจัย จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการสมัครใจ และประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการสมัครใจ ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) เสริมสร้างภาวะผู้นำ 2) กำหนดค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วม 3) มุ่งมั่นที่จะเรียนรู้และประยุกต์ใช้การเรียนรู้ 4) ช่วยเหลือสนับสนุนตามเงื่อนไข 5) แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่ดีของแต่ละบุคคล ประเมินองค์ประกอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับมากที่สุด 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในของระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า สภาพปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก 3. ระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ประกอบด้วย ด้านปัจจัย (Input) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) บุคลากรนิเทศ 2) หลักการนิเทศ 3) ทักษะการนิเทศ 4) งบประมาณสนับสนุนการนิเทศ 5) เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ  ด้านกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) กำหนดกลยุทธ์ในการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 2) การวางแผนนิเทศการจัดการเรียนรู้ 3) ด้านเทคนิคการนิเทศการจัดการเรียนรู้ร่วมคิดร่วมทำ 4) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 5) การกำกับติดตามการนิเทศการจัดการเรียนรู้ 6) การประเมินผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้  ด้านผลผลิต (Output) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ผู้บริหารและครูมีความรู้ ความเข้าใจระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่ดีขึ้นกว่าเดิม ด้านผลลัพธ์ (Outcome) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้บริหาร  ครูมีความ พึงพอใจในระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ด้านข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ การแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา และการรายงานผล ผลการประเมินระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผลการนำระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาไปใช้ พบว่า ครูผู้สอนผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ภายในโดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนพัฒนา เพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.50 ครูผู้สอนมีความพึงพอใจต่อระบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Doctor of Education (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1139
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010562013.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.