Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1149
Title: | The Developing Guideline of Team Building for School Administrators Under The Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 2 การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 |
Authors: | Pornsuda Prasertnoo พรสุดา ประเสริฐนู Pacharawit Chansirisira พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | การพัฒนาแนวทาง การสร้างทีมงาน ผู้บริหาร Development Guidelines Team Building Administrator |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The research aimed to 1) study the current state, desirable state and priority needs index of guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 2) development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2. The study divided to 2 phases, the first phase was study the current state, desirable state and priority needs index of guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 from 327 samples of administrators and teachers under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2. The second phase was development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 in schools that there are 3 schools gave the information about best practice, assessed the suitability and possibility of guidelines by 5 luminaries. Research instruments were questionnaires, interview forms and evaluation forms. Descriptive statistics used in this study were mainly percentage, mean, standard deviation and modified priority needs index. The result were found:
1. The current condition of team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 was at the high level and the desirable condition of team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 was at the highest level. The result of priority needs index of development a guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 by sorting the priority needs index from descending order were as follows: 1) planning 2) forming and evaluation 3) norming and 4) performing.
2. The development of team building’s guideline for school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 consisted of 5 factors and 40 guidelines. There were 5 guidelines of forming, 8 guidelines of norming, 11 guidelines of planning, 9 guidelines of performing and 7 guidelines of evaluation. The result of suitability and possibility assessment of the guideline for team building of school administrators in Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 2 found that the guidelines has suitability overall at highest levels and the possibility of guidelines overall at high level. การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 จำนวน 327 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงาน สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ศึกษาสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 มีความต้องการโดยเรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ลำดับที่ 1 ด้านการวางแผน ลำดับที่ 2 ด้านการก่อตั้งทีมและด้านการประเมินผล ลำดับที่ 3 ด้านการสร้างบรรทัดฐาน และ ลำดับที่ 4 ด้านการปฏิบัติงาน ตามลำดับ 2. การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ประกอบด้วย 5 ด้าน 40 แนวทาง ได้แก่ 1) ด้านการก่อตั้งทีม มี 5 แนวทาง 2) ด้านการสร้างบรรทัดฐาน มี 8 แนวทาง 3) ด้านการวางแผน มี 11 แนวทาง 4) ด้านการปฏิบัติงาน มี 9 แนวทาง 5) และด้านการประเมินผล มี 7 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการสร้างทีมงานสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1149 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62010586039.pdf | 5.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.