Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1151
Title: The Enhancing Teacher Competency Program for Learning Management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1
โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1
Authors: Lanlaphat Maitreepan
ลัลน์พัฒน์ ไมตรีแพน
Sutham Thamatasenahant
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาโปรแกรม
สมรรถนะครู
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา
Developing Program
Teacher Competency
Learning Management of STEM Education
Issue Date:  22
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The research aimed to 1) study current, desirable conditions and needs for learning management to STEM Education and 2) develop the enhancing teacher competency program for learning management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The research was conducted divided into 2 phases. The 1st phase was to study current, desirable conditions and needs for learning management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The sample consisted of 304 teachers under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The semi-structured interview was 6 teachers. The research instruments were semi-structured interview, focus group discussion and appropriateness and feasibility assessment of the program. The frequency, percentage, means, standard deviation, Pearson product-moment correlation, Cronbach's alpha coefficient and Modified Priority Needs Index were employed to analyze data.     The findings of this research were as follows: 1. The overall of current condition for learning management of STEM Education was at medium level, the desirable condition for learning management of STEM Education was at high level and needs to enhance teacher competency for learning management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 by ranking from maximum to minimum following 1) Planning and Development 2) Related Information Search 3) Solution Design 4) Testing, Evaluation and Design Improvement 5) Problem Identification and6) Presentation and using. 2. The enhancing teacher competency program for learning management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 composed of 1) principle, 2) objective, 3) content and activities which included 4 modules. 4) development process which included self-directed learning, action learning and attendance training and seminar. And 5) program evaluation. The overall of the assessment of learning management of STEM Education under the Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 in term of appropriateness was at high level and possibility was at highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 1 จำนวน 304 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้องสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคและค่าดัชนีจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก และลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 เรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 2) การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 3) การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4) การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข การแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 5) การระบุปัญหา และ6) การนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน ตามลำดับ 2. โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาและกิจกรรม แบ่งออกเป็น 4 Module 4) วิธีพัฒนา ประกอบด้วย การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการฝึกอบรมและร่วมสัมมนา และ5) การประเมินผลโปรแกรม ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1151
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586046.pdf10.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.