Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWeeraya Satchaketten
dc.contributorวีรยา สัจจะเขตต์th
dc.contributor.advisorSuwat Junsuwanen
dc.contributor.advisorสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:52Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:52Z-
dc.date.issued27/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1152-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe study aimed to 1) study the current condition, desirable condition and necessity of developing of learning organization guidelines for extended opportunity schools under Khon Kaen primary educational service area office 5 and 2) to develop guidelines of learning organization for Extended Opportunity Schools under Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5. The study was conducted in 2 phases: phase 1, the current condition and desirable condition were studied from 341 school directors and teachers as the sample group in extended opportunity schools under Khon Kaen primary educational service area office 5 in academic year 2020 using questionnaires as research instrument. During phase 2, the guidelines of learning organization in extended opportunity schools under Khon Kaen primary educational service area office 5 were developed by the school directors with best practices using interview as research instrument and were assessed by 5 experts.     The findings show that: 1. The current condition of developing of learning organization guidelines for extended opportunity schools under Khon Kaen primary educational service area office 5 overall is at high level, the desirable condition is very high. 2. The guidelines of learning organization for extended opportunity schools under Khon Kaen primary educational service area office 5 with prior necessity are technology utilization 6 guidelines, system thinking 6 guidelines, mental model 6 guidelines, personal mastery 6 guidelines, shared vision 5 guidelines and team learning 5 guidelines, respectively.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 341 คน ในโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 ปีการศึกษา 2563 เครื่องมือคือแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จากผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์ แล้วประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด     2. แนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 เรียงตามความต้องการจำเป็นและความต้องการพัฒนา ได้ดังนี้ ด้านการนำเทคโนโลยีมาใช้ 6 แนวทาง ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ 6 แนวทาง ด้านรูปแบบทางความคิด 6 แนวทาง ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม 5 แนวทาง ด้านการเป็นบุคคลรอบรู้ 6 แนวทาง และด้านการพัฒนาการเรียนรู้ของทีม 5 แนวทางth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectองค์กรแห่งการเรียนรู้th
dc.subjectโรงเรียนขยายโอกาสth
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectLearning Organizationen
dc.subjectExtended Opportunity Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Learning Organization Guidelines for Extended Opportunity Schools under Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586051.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.