Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuphaluk Khensien
dc.contributorศุภลักษณ์ เข็นสีth
dc.contributor.advisorSongsak Chumpawadeeen
dc.contributor.advisorทรงศักดิ์ จำปาวะดีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Technologyen
dc.date.accessioned2019-08-19T02:55:59Z-
dc.date.available2019-08-19T02:55:59Z-
dc.date.issued23/4/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/115-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this study was to determine effect of level of cassava peel in fermented total mixed ration used Napier Pakchong as roughage on feed intake, ruminal fermentation and nutrient digestibility in beef cattle. Four Brahman-Thai native crossbred cattle with an average initial body weight of 180.25 ± 16.25 kg. were randomly assigned in a 4x4 Latin Square Design. During each of four 21 day periods, the animals were fed four dietary treatments. The treatment were fermented total mixed ration which different in cassava peel  0 %, 15 %, 30 %, and 45 %, respectively. The results showed that feed intake was significant different among treatments (P<0.05). The digestibility, ruminal pH ammonia–nitrogen and total volatile fatty acid were not significant (P>0.05). Therefore, suitable levels of cassava peels in fermented total mixed ration were ranged from 15-30 % and not affected to feed intake, nutrient digestibility and ruminal fermentation.en
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของระดับเปลือกล้างมันสำปะหลัง ในสูตรอาหาร ผสมสำเร็จรูปแบบหมักที่มีหญ้าเนเปียร์ปากช่องเป็นแหล่งอาหารหยาบ ต่อปริมาณการกินได้ กระบวนการหมักในกระเพาะหมัก และการย่อยได้ของโภชนะในโคเนื้อ โดยใช้แผนการทดลองแบบ 4×4 จัตุรัสลาติน ใช้โคเนื้อลูกผสม บราห์มันพื้นเมืองเพศผู้ จำนวน 4 ตัว น้ำหนักเฉลี่ยเริ่มต้น 180.25 ± 16.25 กิโลกรัม โคทุกตัวจะได้รับอาหารทั้งหมด 4 สูตร ได้แก่ สูตรอาหารที่มีระดับเปลือกล้างมันสำปะหลังที่ 0, 15, 30, และ 45 เปอร์เซ็นต์ จากการทดลอง พบว่า ปริมาณการกินได้ของโคแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) แต่อย่างไรก็ตาม การย่อยได้ของโภชนะไม่แตกต่างกัน (P>0.05) นอกจากนั้นยังพบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่างในกระเพาะ แอมโมเนียไนโตรเจน และกรดไขมันที่ระเหยง่ายทั้งหมดไม่แตกต่างกัน (P>0.05) จากการทดลองนี้สามารถสรุปได้ว่าเปลือกล้างมันสำปะหลังสามารถใช้ในสูตรอาหารผสมสำเร็จรูปแบบหมักได้ที่ระดับ 15-30 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่ส่งผลต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ และกระบวนการหมักในกระเพาะหมักth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subject: โคเนื้อth
dc.subjectปริมาณการกินได้th
dc.subjectกระบวนการหมักในกระเพาะหมักth
dc.subjectการย่อยได้ของโภชนะth
dc.subjectอาหารผสมสำเร็จรูปแบบหมักth
dc.subjectBeef cattleen
dc.subjectFeed intakeen
dc.subjectRuminal fermentationen
dc.subjectNutrient digestibilityen
dc.subjectFermented total mixed rationen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleEffect of Level of Cassava Peel in Fermented Total Mixed Ration used Napier Pakchong as Roughage on Feed Intake, Ruminal Fermentation and Nutrient Digestibility in Beef Cattleen
dc.titleผลของระดับเปลือกล้างมันสำปะหลังในสูตรอาหารผสมสำเร็จรูปแบบหมักที่มีหญ้าเนเปียร์ปากช่องเป็นแหล่งอาหารหยาบ ต่อปริมาณการกินได้ กระบวนการหมักในกระเพาะหมัก และการย่อยได้ของโภชนะในโคเนื้อth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010853005.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.