Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1175
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nisarat Khatiyanon | en |
dc.contributor | นิศารัตน์ ขัติยนนท์ | th |
dc.contributor.advisor | Uthen Laonamtha | en |
dc.contributor.advisor | อุเทน เลานำทา | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. Mahasarakham Business School | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T15:02:54Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T15:02:54Z | - |
dc.date.issued | 13/5/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1175 | - |
dc.description | Master of Accountancy (M.Acc.) | en |
dc.description | บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the relationship between enterprise resource planning systems sapabilities and accounting information process efficiency of business in industrial estates authority in Thailand. Questionnaires were used as a tool to collect data and responded by 92 executive of business in industrial estates authority in Thailand. The statistical techniques used for data analysis were, t-test, F-test (ANOVA and MANOVA), multiple correlation analysis and multiple regression analysis. The findings revealed that the accounting executives of business in industrial estates authority had opinions about enterprise resource planning systems capabilities as a and in each of all these aspects in a high level; IT readiness, ERP management continuity, ERP employee involvement, ERP software integration. Executive of business in industrial estates authority had opinions about accounting information process efficiency as a whole and in each of all these aspects in a high level; timeliness, accuracy and quality. The accounting executives of business in industrial estates authority business with different business models, operating capital, numbers of employees and average income from operations agreed differently with having enterprise resource planning systems capabilities as a whole is different. The accounting executives of business in industrial estates authority business with different business models, operating capital, numbers of employees and average incomedifferent with having accounting information process efficiency as a whole is different. According to analyses of relationships and effect, the following were found 1) enterprise resource planning systems capabilities in IT readiness relationships with and effect on accounting information process efficiency as a whole in timeliness and quality. 2) enterprise resource planning systems capabilities in ERP management continuity relationships with and effect on accounting information process efficiency as a whole in quality. 3) enterprise resource planning systems capabilities ERP employee Involvement had a positive relationships with and effect on accounting information process efficiency in quality. and 4) enterprise resource planning systems capabilities ERP software integration had a positive relationships with and effect on accounting information process efficiency in accuracy. In conclusion, enterprise resource planning systems capabilities have a relationship and positive effect on accounting information process efficiency of business in industrial estates authority in Thailand. Therefore, Business accounting executives in industrial estates authority should apply the findings of this study to enterprise resource planning systems in order to gain effective accounting information process efficiency. This will result in receiving accurate and truthful accounting information. Match the needs of users. In addition, the executives can use accounting information to make future decisions which will lead to the enhanced overall management efficiency. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชีของธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย จำนวน 92 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ t- test, F- test (ANOVA และ MANOVA) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคุณ ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรม มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรโดยรวมและเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความพร้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบริหารการวางแผนทรัพยากรองค์กรอย่างต่อเนื่อง ด้านการมีส่วนร่วมของพนักงาน และด้านการบูรณาการซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรองค์กร และผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรม มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชีโดยรวมและเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความทันต่อเวลาของการประมวลผล ด้านความถูกต้องของการประมวลผล และด้านคุณภาพของการประมวลผล ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรม ที่มีรูปแบบธุรกิจ ทุนในการดำเนินงาน จำนวนพนักงาน และรายได้เฉลี่ยต่อปีจากการดำเนินงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรโดยรวม แตกต่างกัน ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรม ที่มีรูปแบบธุรกิจ ทุนในการดำเนินงาน จำนวนพนักงาน และรายได้เฉลี่ยต่อปีจากการดำเนินงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี แตกต่างกัน จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์และผลกระทบ พบว่า 1) ความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ด้านความพร้อมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี ด้านความทันต่อเวลาของการประมวลผล และด้านคุณภาพของการประมวลผล 2) ความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ด้านการบริหารการวางแผนทรัพยากรองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี ด้านคุณภาพของการประมวลผล 3) ความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ด้านการมีส่วนร่วมของพนักงาน มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี ด้านคุณภาพของการประมวลผล 4) ความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ด้านการบูรณาการซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรองค์กร มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี ด้านความถูกต้องของการประมวลผล โดยสรุป ความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรมีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชีของธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย ดังนั้น ผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรม จึงควรใช้ข้อสนเทศที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร เพื่อให้การประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทำให้ได้รับสารสนเทศทางการบัญชี ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ สามารถนำข้อมูลสารสนเทศทางการบัญชีไปใช้ในการตัดสินใจในอนาคตซึ่งจะนำไปสู่การบริหารงานของผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร | th |
dc.subject | การประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชี | th |
dc.subject | นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย | th |
dc.subject | Enterprise Resource Planning Systems | en |
dc.subject | Accounting Information Process | en |
dc.subject | Industrial Estates Authority in Thailand | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | Relationship between Enterprise Resource Planning Systems Capabilities and Accounting Information Process Efficiency of Business in Industrial Estates Authority in Thailand | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรกับประสิทธิภาพการประมวลผลสารสนเทศทางการบัญชีของธุรกิจในเขตนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Mahasarakham Business School |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58010950901.pdf | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.