Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiyatida Rakpongen
dc.contributorปิยธิดา  รักพงศ์th
dc.contributor.advisorSaithip Suttiruksaen
dc.contributor.advisorสายทิพย์ สุทธิรักษาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Pharmacyen
dc.date.accessioned2019-08-19T02:57:11Z-
dc.date.available2019-08-19T02:57:11Z-
dc.date.issued25/4/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/117-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (M.Pharm.)en
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this study was to examine the effects of pharmaceutical care in patients with schizophrenia and caregivers education at home on medication adherence, drug related problem, the severity of psychotic symptom and quality of life (QOL) in patients with schizophrenia and on knowledge, quality of life, caregiver burdens, stress, and satisfaction of caregivers. The research conducted a prospective, randomized, controlled trial, between May 1 – September 30, 2018. The data will be assessed at the first date, 1- and 3-months respectively. Fifty seven pairs of the patients with schizophrenia and their caregivers were enrolled in the study. Twenty nine pairs were enrolled in the control group and 28 pairs in the study group. At baseline, all characteristics of patients with schizophrenia and caregivers were not significant difference between control and intervention group. The severity of psychosis symptoms were lower in the study group than the control group at the 1st   and 3rd  month (p=0.001 and p<0.001, respectively).The medication adherence, drug related problem and the mean score of quality of life between the study group and control group were no statistically significant differences. To compare the results within group of the study group of the patients with schizophrenia at the 1st  and 3rd  months, we found that 1) the medication adherence in the study group was significantly higher than the control group (p=0.032 and p=0.001, respectively). 2) the DRPs in the study group was significantly lower than the control group (p<0.001,  p<0.001). 3) the phychotric symptom in the study group was significantly lower than the control group (p<0.001, p<0.001) and 4)  the QoL in the study group was significantly higher than the control group (p=0.001, p=0.001).  The knowledge was higher in the study group of caregivers than the control group at the 1st   and 3rd  month (p<0.001,  p<0.001).  The caregiving burden was lower in the study group than the control group (p=0.012 and p=0.008 , respectively). To compare the results within group of the study group of the caregivers at the 1st  and 3rd  months, we found that 1) the  knowledge in the study group was significantly higher than the control group (p<0.001, p<0.001) 2) the QOL in knowledge in the study group was significantly higher than the control group 1st  and 3rd p=0.029 and p=0.003, respectively) 3) the caregiver burden score in the study group was significantly lower than the control group (p=0.028 and 0.008, respectively) 4) the stress scores in the study group was significantly lower than the control (p=0.021 and p=0.024, respectively). 5) In case of satisfaction, after study the caregivers showed the average score of satisfaction in the highest level. The pharmaceutical care at home show increased medication adherence, decreased DRP, decreased the average score of phychotric symptoms, and increased quality of life in patients with schizophrenia.  The knowledge, quality of life, caregiver burden and stress were improved in the caregivers whom received the education from the pharmacist.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยจิตเภทร่วมกับการให้ความรู้แก่ผู้ดูแลที่บ้าน ต่อความร่วมมือในการใช้ยา ปัญหาจากการใช้ยา ระดับความรุนแรงของอาการทางจิต และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย รวมถึงผลต่อความรู้ คุณภาพชีวิต ความรู้สึกเป็นภาระ ความเครียดและความพึงพอใจของผู้ดูแล การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม เก็บข้อมูลไปข้างหน้า ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561 ทำการเก็บข้อมูลจำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ ก่อนเริ่มการศึกษา หลังการศึกษา 1 เดือน และ 3 เดือน ตามลำดับ ผลการศึกษา พบว่า มีผู้ป่วยจิตเภทและผู้ดูแล จำนวน 57 คู่ เข้าร่วมการศึกษา แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 29 คู่ และกลุ่มทดลอง 28 คู่ ก่อนการศึกษาพบว่าข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย และผู้ดูแล กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ หลังการติดตามที่เดือนที่ 1 และ 3 พบว่า ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรุนแรงของอาการทางจิตน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.001 และ p<0.001 ตามลำดับ)  ส่วนความร่วมมือในการใช้ยา ปัญหาจากการใช้ยา และคุณภาพชีวิตไม่แตกต่าง ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เมื่อเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการศึกษาในกลุ่มทดลองพบว่า 1) ความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทั้งในเดือนที่ 1 และ 3 (p=0.032 และ 0.010 ตามลำดับ) 2) จำนวนปัญหาการใช้ยาลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001 ทั้ง 2 ช่วงเวลา) 3) คะแนนเฉลี่ยความรุนแรงของอาการทางจิตลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในเดือนที่ 1 และ 3  (p<0.001 ทั้ง 2 ช่วงเวลา) 4) คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในเดือนที่ 3 (p=0.001) ผลการศึกษาในผู้ดูแลเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองพบว่า ผู้ดูแลกลุ่มทดลอง มีคะแนนความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมในเดือนที่ 1 และ 3 (p<0.001)  และมีความรู้สึกเป็นภาระน้อยกว่ากลุ่มควบคุมในเดือนที่ 1 และ 3  (p=0.012 และ p=0.008 ตามลำดับ)  และเมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาเฉพาะในผู้ดูแล ก่อนและหลังการศึกษา พบว่า 1) ผู้แลกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในเดือนที่ 1 และ 3 (p<0.001)   (2) ผู้ดูแลกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในเดือนที่ 1 และ 3 (p=0.029 และ p=0.003) 3) ผู้ดูแลกลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้สึกเป็นภาระลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในเดือนที่ 1 และ 3 (p=0.028 และ p=0.008) 4) ผู้ดูแลกลุ่มทดลองมีความเครียดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในเดือนที่ 1 และ 3 (p=0.021 และ p=0.024) 5) เมื่อสิ้นสุดการศึกษาผู้ดูแลมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด สรุปผลการศึกษา การบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยจิตเภทร่วมกับการให้ความรู้แก่ผู้ดูแลที่บ้านมีผลช่วยเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยา ลดปัญหาการใช้ยาของผู้ป่วย ลดระดับความรุนแรงของอาการทางจิต และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วย นอกจากนี้ยังมีผลทำให้ผู้ดูแลมีความรู้ คุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้น และมีความรู้สึกเป็นภาระและความเครียดลดลงth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโรคจิตเภทth
dc.subjectความร่วมมือในการใช้ยาth
dc.subjectการบริบาลเภสัชกรรมth
dc.subjectเยี่ยมบ้านth
dc.subjectคุณภาพชีวิตth
dc.subjectผู้ดูแลth
dc.subjectความรู้สึกเป็นภาระth
dc.subjectความเครียดth
dc.subjectความรู้th
dc.subjectschizophreniaen
dc.subjectcomplianceen
dc.subjectpharmaceutical careen
dc.subjecthome visiten
dc.subjectquality of lifeen
dc.subjectcaregiveren
dc.subjectburdenen
dc.subjectdistressen
dc.subjectknowledgeen
dc.subject.classificationPharmacologyen
dc.titleThe Effects of Pharmaceutical Care in Patients with Schizophrenia and Caregivers Education at Homeen
dc.titleผลการบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยจิตเภทร่วมกับการให้ความรู้แก่ผู้ดูแลที่บ้านth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010781008.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.