Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorApiwat Kaewtungkuenen
dc.contributorอภิวัจน์ แก้วตั้งขึ้นth
dc.contributor.advisorPrayote Songklinen
dc.contributor.advisorประโยชน์ ส่งกลิ่นth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The College of Politics and Governanceen
dc.date.accessioned2021-09-05T15:33:02Z-
dc.date.available2021-09-05T15:33:02Z-
dc.date.issued21/8/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1202-
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstractThis research study aimed (1) to study the problems of the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation in Maha Sarakham province, (2) to compare the problems of the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation in the Maha Sarakham province between different sizes of fuel oil service stations, and (3) to study suggestions for the problem solutions of the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation in Maha Sarakham province. Data in the study were collected by using a questionnaire and a structured-interview form. Sample group consisted of 175 people from fuel oil service stations in Maha Sarakham province. The interviewees were staff from the Mahasarakham Provincial Energy Office and the operators of the fuel oil service stations in Maha Sarakham province, 10 of them in total. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and F-test (One-way ANOVA). The research study found as follows: 1. The overall opinion of the operators of the fuel oil service stations in Maha Sarakham province about the problems of the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation in the province were at moderate level. When considering in each aspect, it was found that they were at medium levels in all aspects. They could be arranged from the highest to the lowest averages as follows: tools or operational equipment, coordination, personnel, regulations-legal, and information aspects. 2. The operators of the fuel oil service stations in Maha Sarakham province that have difference sizes had different opinions concerning about the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation, in overall. When considering in each aspect, it was found that the tools or operational equipment aspect was not different. On the other hand, the opinions were different in regulations-laws, personnel, coordination, and information aspects, statistically significant at .05 level. 3. Major suggestions for solving the problems about the Fuel Trade Act, B.E. 2543, implementation in Maha Sarakham province were as follows: (1) There should have enough, quality, modern, and sufficient tools and operational equipment provided for the operational staff. (2) There should be integration and enhancement of the staffs’ work efficiency from the relevant agencies by providing training and regular rehearsal of the action plan every year. (3) There should be educational workshop for staffs of the fuel oil service stations about law, quality control, and safety standards for fuel oil service stations. And (4) there should be requiring standards for operators to provide tools and equipment for checking the quality of fuel oil in their service stations. In order to guarantee the fuel oil quality before selling to customers every time which will be quality control of the fuel oil to meet the standards required by law.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคาม (2) เพื่อเปรียบเทียบเกี่ยวกับปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคาม ระหว่างสถานประกอบกิจการน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีขนาดต่างกัน และ (3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคาม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 175 คน ผู้ให้สัมภาษณ์คือ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานพลังงานจังหวัดมหาสารคาม และผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตจังหวัดมหาสารคาม จำนวนทั้งสิ้น 10 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ F-test (One-way ANOVA) ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. ผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตจังหวัดมหาสารคาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคามโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ดำเนินงาน ด้านการประสานงาน ด้านบุคลากร ด้านระเบียบ-กฎหมายและด้านข้อมูลข่าวสาร 2. ผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตจังหวัดมหาสารคาม ที่มีขนาดสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ดำเนินงานไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านระเบียบ-กฎหมาย ด้านบุคลากร ด้านการประสานงาน และด้านข้อมูลข่าวสาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคามที่สำคัญ คือ (1) ควรมีการจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ดำเนินงานที่มีคุณภาพ ทันสมัย และเพียงพอให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (2) ควรมีการบูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้วยการจัดฝึกอบรม ซักซ้อมแผนปฏิบัติการร่วมกันเป็นประจำทุกปี (3) ควรมีการให้ความรู้กับบุคลากรของสถานประกอบกิจการในด้านกฎหมาย การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างสม่ำเสมอ และ (4) ควรมีมาตรการกำหนดให้ผู้ประกอบกิจการต้องจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงประจำสถานีบริการ เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงก่อนนำออกจำหน่ายทุกครั้ง ซึ่งจะเป็นการควบคุมคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงth
dc.subjectปัญหาth
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติth
dc.subjectพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543th
dc.subjectFuel Service Stationen
dc.subjectProblemsen
dc.subjectPolicy Implementationen
dc.subjectFuel Trade Act 2000 (B.E. 2543)en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Problems on Implementation of Fuel  Trade  Act, B.E. 2543, in  Maha Sarakham Provinceen
dc.titleปัญหาการนำพระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543  ไปปฏิบัติในจังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The College of Politics and Governance

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58011381005.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.