Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1244
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sinlapakom Sijongaeng | en |
dc.contributor | ศิลปคม สีจองแสง | th |
dc.contributor.advisor | Nittaya Wannakit | en |
dc.contributor.advisor | นิตยา วรรณกิตร์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Humanities and Social Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-06T05:44:55Z | - |
dc.date.available | 2021-09-06T05:44:55Z | - |
dc.date.issued | 22/4/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1244 | - |
dc.description | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research investigated cultural identity in Luk Thung Molam songs by Siang-Isan Band. The data were collected from 255 Luk Thung Molam songs of the Siang-Isan Band from 2000 – 2020. Songs' lyrics from 2000 – 2012 were transcribed from live performance VCDs series 1 – 18, and those from 2013 – 2020 were chosen only from singles with at least10,000 views via "นกน้อยปีกเหล็ก Official" channel on YouTube. The purpose was to analyze the linguistic features and cultural identity in Siang-Isan Band's Luk Thung Molam songs using the framework of identity. The study revealed that there are four linguistic features in Siang-Isan Band's Luk Thung Molam songs. The first feature is words and phrases, including names of places, terms of kinship, expressive words, use of a word or phrase to represent a person or group of people, use of a word or phrase to express sensual experience, use of a word or phrase for rhymes, word repetition, compound words, modifiers, exclamation, and terms of time. The second linguistic feature includes the use of idioms, both in standard Thai and Isan. Thirdly, a dominant linguistic feature is a rhetorical language, namely, narrative language and descriptive language. The fourth linguistic feature is figurative speech, including simile, metaphor, metonymy, hyperbole, and personification. Six aspects of cultural identity were observed, namely 1)way of life identity, 2) traditional identity, 3) professional identity, 4) religious identity, and 5) gender identity. Linguistic identity seemed to characterize Isan people most accurately. These types of identity reflected the characteristics of Isan people in various dimensions. On this token, Luk Thung Molam songs by Siang-Isan Band function as the media that express Isan people's cultural identity, mainly through linguistic identity. It is worth noting that identity evolves dynamically according to the ever-changing culture and society. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในเพลงลูกทุ่งหมอลำของคณะเสียงอิสาน โดยศึกษาเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสาน ในช่วงปี พ.ศ. 2543 – 2563 โดยผลงานเพลงในช่วงปี พ.ศ. 2543 – 2555 ใช้วิธีการถอดเนื้อเพลงจากวีซีดีบันทึกการแสดงสด ชุดที่ 1 – 18 และช่วง พ.ศ. 2556 – 2563 เลือกเฉพาะเพลงที่ได้รับความนิยมที่มียอดวิว 10,000 วิวขึ้นไป ใช้วิธีการถอดเนื้อเพลงที่อัปโหลดเป็นซิงเกิ้ลเพลงในเว็บไซต์ www.youtube.com ทางช่อง “นกน้อยปีกเหล็ก official” รวมทั้งสิ้น 255 เพลง มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ลักษณะการใช้ภาษาและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสาน โดยใช้กรอบแนวคิดอัตลักษณ์ในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยอัตลักษ์ทางวัฒนธรรมในเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสาน พบว่าลักษณะการใช้ภาษาในเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานที่ปรากฏมี 4 ประเด็นคือ ประเด็นที่ 1 การใช้คำและกลุ่มคำ ได้แก่ การใช้คำบ่งสถานที่ การใช้คำเรียกญาติ การใช้คำสื่ออารมณ์ การใช้คำเรียกแทนบุคคลและกลุ่มบุคคล การใช้คำเชื่อมโยงกับประสบการณ์ด้านผัสสะ การใช้คำเพื่อเล่นเสียงสัมผัส การใช้คำซ้ำ การใช้คำซ้อน การใช้คำขยาย การใช้คำอุทานเสริม การใช้คำบอกเวลา ประเด็นที่ 2 การใช้สำนวน ปรากฏทั้งสำนวนไทยและสำนวนอีสานประเด็นที่ 3 การใช้โวหาร ได้แก่ บรรยายโวหาร และพรรณนาโวหาร และประเด็นที่ 4 การใช้ภาพพจน์ ได้แก่ ภาพพจน์อุปมา อุปลักษณ์ นามนัย อติพจน์ และบุคคลวัต ตามลำดับ ในส่วนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานจากการศึกษาพบประเด็นที่น่าสนใจ 5 ประเด็น ได้แก่ อัตลักษณ์ด้านวิถีความเป็นอยู่ อัตลักษณ์ด้านขนบประเพณี อัตลักษณ์ด้านอาชีพ อัตลักษณ์ด้านความเชื่อ และอัตลักษณ์ทางเพศ อัตลักษณ์ที่ปรากฏดังกล่าวได้นำเสนอตัวตนคนอีสานในหลายมิติ ดังนั้นเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานจึงเป็นสื่อในการนำเสนออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สะท้อนตัวตนของคนอีสานผ่านเครื่องบ่งชี้อัตลักษณ์โดยเฉพาะ “ภาษา” นอกจากนั้นอัตลักษณ์ยังมีความลื่นไหลอย่างเป็นพลวัตตามกระแสวัฒนธรรมของสังคมที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยอยู่ตลอดเวลา | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | เพลงลูกทุ่งหมอลำ | th |
dc.subject | อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม | th |
dc.subject | Luk Thung Mor Lam Music | en |
dc.subject | Cultural Identity | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Cultural Identity in Mor-Lam Songs by Siang-Isan Band | en |
dc.title | อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในเพลงลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสาน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Humanities and Social Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010180024.pdf | 5.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.