Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1311
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Runchidakarn Chankomol | en |
dc.contributor | รัญชิดากานต์ จรรย์โกมล | th |
dc.contributor.advisor | Sutham Thamatasenahant | en |
dc.contributor.advisor | สุธรรม ธรรมทัศนานนท์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-10-05T15:32:01Z | - |
dc.date.available | 2021-10-05T15:32:01Z | - |
dc.date.issued | 9/9/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1311 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to: 1) study current conditions and desirable conditions of curriculum administration and learning activities based on philosophy of sufficiency economy for Kalasin’s provincial administration organization schools. 2) develop a guideline of curriculum administration and learning activities based on philosophy of sufficiency economy for Kalasin’s provincial administration organization schools through research methodology and development (Research and development). Proceeded into 2 phases, in the phase 1 is to study current conditions and desirable conditions. In Step1, examples are namely, 221 people of school directors and teachers in schools at Kalasin’s provincial administration organization schools by using R.V. Krejcie & D.W. Morgan’s table size then, using random sampling. The research instruments were questionnaire and statistics used were average, standard deviation. Indispensable index sequence for step 2 is to study three schools best practice and target groups namely school administrators, head of the group learning department and nine related teachers by selecting purposive sampling techniques. The instruments used were structured interview. In the phase 2 is to developing a Guideline of curriculum administration and learning activities based on philosophy of sufficiency economy. In the step 1, Focus group and target group are 9 experts by using purposive sampling technique. The instruments used were consistency index, average and standard deviation. Step 2: developing a Guideline of curriculum administration and learning activities based on philosophy of sufficiency economy for Kalasin’s provincial administration organization schools, target group 9 experts (original). The instruments used were evaluation forms and statistics used were average and standard deviation. The research found that: 1. Current conditions and desirable conditions of curriculum administration and learning activities based on philosophy of sufficiency economy for Kalasin’s provincial administration organization schools found that current conditions were totally at high level and the desirable conditions were totally at high level. 2. Developing a Guideline of Curriculum Administration and Learning Activities based on Philosophy of Sufficiency Economy for Kalasin’s Provincial Administration Organization Schools consisted of 4 sectors 1) The philosophy of sufficiency economy are 8 guidelines. 2) The integration of philosophy of sufficiency economy into learning activities are 9 guidelines. 3) The media and learning resources about the philosophy of sufficiency economy are 11 guidelines. 4) The measurement and evaluation of learning activities according to the philosophy of sufficiency economy are 10 guidelines. found that the appropriateness was totally at high level and the possibility was totally at very good level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ โดยระยะที่ 1 คือการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ บุคลากรในโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ปีการศึกษา 2560 ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา 14 คน และครูผู้สอน 207 คน รวม 221 คน จากโรงเรียน 12 โรงผู้วิจัยได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างจากการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของ เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จากนั้นสุ่มประชากรอย่างเป็นสัดส่วน (Proportional Random Sampling) ของประชากรตามสถานภาพ และวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีลำดับความต้องการจำเป็น ตอนที่ 2 ศึกษาดูงานโรงเรียนที่มีการปฏิบัติที่เป้นเลิศ (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และครูผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ตอนที่ 2 การประเมินแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน (ชุดเดิม) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฎว่า 1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย 4 ด้าน 1) ด้านหน่วยการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 8 แนวทาง 2) ด้านการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดกกิจกรรมการเรียนรู้ มี 9 แนวทาง 3) ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 11 แนวทาง 4) ด้านการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 10 แนวทาง ผลการประเมินพบว่า แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ มีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การบริหารจัดการหลักสูตร | th |
dc.subject | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง | th |
dc.subject | curriculum management | en |
dc.subject | learning activities | en |
dc.subject | The philosophy of sufficiency economy | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF CURRICULUM AND LEARNING ACTIVITIES BASED ON THE SUFFICIENCY ECONOMY PHILOSOPHY FOR KALASIN’S PROVINCIAL ADMINISTRATION ORGANIZATION | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56010586072.pdf | 6.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.