Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTreesukon Khuna-eken
dc.contributorตรีสุคนธ์ คูนาเอกth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.issued22/7/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1315-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed 1) to study the current state and the desirable state of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24 and 2) to developing the guidelines of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24. The research divided to 2 phases, the first phase was study the current state and the desirable state of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24 collected data from 250 samples from 25 small schools consisted administrators and teachers in small schools under the secondary educational service area office 24, determined the sample size by calculating from Taro Yamane's formula, used startified random sampling to selected the samples. Research instrument was questionnair.  The second phase was to developing the guidelines of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24. Key performance were administrators and teachers from 2 pilot schools and 9 luminaries for assessed the suitability and feasibility of guidelines. Descriptive statistics used to analysis data were average, mainly percentage, standard deviation and priority needs index. The result of this research were found:                                                                    1. The current state of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24 overall were at moderate level and the desirable state overall were at high level.                                                       2. The guidelines of academic administrative for small schools under the secondary educational service area office 24. The guidelines’ suitability and feasibility both were at high levels.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 และ 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่  1  ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่าง  ได้แก่  ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต  24 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 25 โรง จำนวน 250 คน กำหนดขนาดของตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่  ทำการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Startified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็ก ระยะที่  2  การพัฒนาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24  กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ  ผู้บริหารและครูของโรงเรียนต้นแบบ 2 แห่ง จำนวนรวม 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง จำนวน 9  คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า                        1. สภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก                                                                                                 2. แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 มีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยรวมอยู่ในระดับมาก th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการบริหารวิชาการth
dc.subjectโรงเรียนขนาดเล็กth
dc.subjectGuidelines Developmenten
dc.subjectAcademic Administrativeen
dc.subjectSmall Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of guideline for academic administration in small school Under the Office of the Secondary Education Service Area 24en
dc.titleแนวทางพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586015.pdf6.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.