Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNisakhon Jitiwongen
dc.contributorนิศากร จิติวงค์th
dc.contributor.advisorLakkana Sariwaten
dc.contributor.advisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:02Z-
dc.date.issued17/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1316-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research purposes were : 1) To study the present and desirable of inclusive education management for school under Roi-et office of primary education service area 1 2) To study the development of inclusive education management a guideline for school under Roi-et office of primary education service area 1. The research devided to 2 phases, phase 1 was to study the current state and the desirable of inclusive education management for school under Roi-et office of primary education service area from samples group were 80 administrators and teachers selected by stratified random sampling method. Phase 2 was to develop of inclusive education management a guideline for school under Roi-et office of primary education service area 1 selected data from key performances were 9 administrator and teachers from best practice’s schools, 5 luminaries to assessed the suitability and possibility of implementation guidelines (purposive sampling method used to selected luminaries). Research instruments were questionnair, interview and guidelines’ suitability and possibility assess form. The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation.  The research result were found that;             1.The results of study the present of inclusive education management for school under Roi-et office of primary education service area 1 found that the present condition generally is  moderate level and each aspect, two each is great level and two each is moderate level.                                                            2. The implementation guidelines of inclusive education management for School under Roi-et Office of Primary Education Service Area 1 included 1) principle and reason 2) objectives 3) implementation guidelines 4) method to develop and 5) assessment. The result of guidelines assessed were found the suitable assessed overall were at high levels and the possibility assessed overall were at highest levels.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 80 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด  เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจากสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จำนวน 9 คน ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ ยืนยันแนวทาง จำนวน 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง จำนวน 5 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า                                              1. สภาพปัจจุบันการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 2 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ส่วนสภาพพึงประสงค์การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน             2. แนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 ประกอบด้วย 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) แนวทางการดำเนินงาน 4) กลไกการพัฒนา และ 5) การประเมินผล ผลการประเมินแนวทาง พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมth
dc.subjectแนวทางการจัดการศึกษาth
dc.subjectเด็กพิการth
dc.subjectInclusive Education Managementen
dc.subjectEducation Management Guidelineen
dc.subjectDisabled Childrenen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Inclusive Education Management a Guideline for School under Roi-et Office of Primary Education Service Area 1en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586017.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.