Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiriwan Sithaen
dc.contributorศิริวรรณ สีทาth
dc.contributor.advisorUrit Charoen-Inen
dc.contributor.advisorอุฤทธิ์ เจริญอินทร์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:03Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:03Z-
dc.date.issued19/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1323-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research is an action research. The objective is to develop the collaborative problem solving in physics of mathayomsuksa students by using problem–based learning. The targets are 6 students which were purposive sampling. The instruments used in this research consist of 1) 9 lesson plans using problem–based learning on the topic of sound, 2) observation form in students’ collaborative problem solving, and 3) assessment forms in students’ collaborative problem solving. The process of this action research include 3 loops, 3 lesson plans per loop. There are 4 steps in the cycle; planning, action, observation, and reflection. Observation form in students’ collaborative problem solving is used While students were learning. And assessment forms in students’ collaborative problem solving are used after each cycle. The statistics using for data analysis are mean, percentage and standard deviation. The result of the research revealed that 5 students could reach the medium level of collaborative problem solving. Moreover, there is a student could reach the high level of collaborative problem solving. It showed that learning by using problem–based learning can develop the collaborative problem solving of students.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการแก้ปัญหาแบบร่วมมือในรายวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานให้ผ่านเกณฑ์ระดับกลาง กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนจำนวน 6 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้การวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่อง เสียง จำนวน 9 แผน 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และ 3) แบบประเมินการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียน การพัฒนาการแก้ปัญหาแบบร่วมมือเป็นกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ 3 วงรอบ โดยแต่ละวงรอบประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แต่ละวงรอบแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผน การลงมือปฏิบัติการตามแผน การสังเกตการณ์ และการสะท้อนกลับ โดยทำการสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนรู้และให้นักเรียนทำแบบประเมินการแก้ปัญหาแบบร่วมมือหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละวงรอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตนฐาน ผลการวิจัยพบว่า หลังจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานนักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 6 คน มีการแก้ปัญหาแบบร่วมมืออยู่ในระดับกลางจำนวน 5 คน และการแก้ปัญหาแบบร่วมมืออยู่ในระดับสูงจำนวน 1 คน แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสามารถพัฒนาการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของนักเรียนได้th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectการวิจัยเชิงปฏิบัติการth
dc.subjectCollaborative problem solvingen
dc.subjectProblem–based learningen
dc.subjectAction researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping Collaborative Problem Solving in Physics of Mathayomsuksa 5 Students by Using Problem-Based Learning en
dc.titleการพัฒนาการแก้ปัญหาแบบร่วมมือในรายวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556017.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.