Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNamfon Pannaoen
dc.contributorน้ำฝน ปานเนาว์th
dc.contributor.advisorUrit Charoen-Inen
dc.contributor.advisorอุฤทธิ์ เจริญอินทร์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-10-05T15:32:03Z-
dc.date.available2021-10-05T15:32:03Z-
dc.date.issued21/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1324-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe action research aim to develop problem-solving ability using the Metacognition method in order to pass the criteria of 70% of full score. The target group of this study contained of 11  students. The targets are 11 students from a Mathayomsuksa 5, which were purposive sampling from 28 students in the same classroom, using problem-solving ability test. The instruments tool research were (1) 3 sets of the problem-solving ability test, (2) observation form in students problem solving, (3) the semi-structure interview and (4) 10 plans for integrated with the Metacognition method in Physics for 15 hours. The classroom action research consisted of 3 cycles each one; planning, action observing and reflection. Whereas action research approach used in this study composed of 3 spiral, which the first spiral used for the first to the third plan, the second spiral used for the fourth to the seventh plan, and the third spiral used for the eighth to the tenth plan. The ability test is used after each cycle. The statistics using for data analysis is mean percentage and standard deviation.               The result from classroom action research revealed that: The target students who learning using Metacognition method were obviously higher inthe problem-solving ability of 11 students in the first loop there were 5 students second loop up to 8 students and in cycle third there were 10 students passed their criteria of 70% of full score. It showed that the using Metacognition Method can develop the ability of students.  en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหารายวิชาฟิสิกส์ โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชัน ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 11 คน โดยได้จากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง หลังจากการทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหา จากนักเรียนในชั้นเรียนเดียวกันทั้งหมด 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 4 ชนิด ได้แก่ (1) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา ลักษณะแบบทดสอบจะเป็นแบบอัตนัย จำนวน 3 ชุด (2) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาของผู้เรียน (3) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (4) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม จำนวน 10 แผนการเรียนรู้ รวมเวลา 15 ชั่วโมง  การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วยกระบวนการทั้งหมด 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การปฏิบัติ การสังเกตและการสะท้อนผล โดยแบ่งออกเป็น 3 วงจรปฏิบัติการ  ประเมินผลโดยทำการทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้เสร็จสิ้นในแต่ละวงรอบ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน                    ผลการวิจัยพบว่า  นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 11 คน มีความสามารถในการแก้ปัญหา หลังจากเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 5 คน  ในวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 8 คน  และการประเมินเมื่อสิ้นสุดวงรอบปฏิบัติการที่ 3 มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 10 คน แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชัน สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนได้  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาth
dc.subjectเมตาคอกนิชันth
dc.subjectการวิจัยเชิงปฏิบัติการth
dc.subjectProblem-solving Abilityen
dc.subjectMetacognitionen
dc.subjectAction Researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of problem solving ability of Mathayomsuksa 5 student by Using Metacognition methoden
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556022.pdf4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.