Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJetsupa Sungthongdeeen
dc.contributorเจตสุภา สังข์ทองดีth
dc.contributor.advisorAraya Piyakunen
dc.contributor.advisorอารยา ปิยะกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-11-18T13:22:25Z-
dc.date.available2021-11-18T13:22:25Z-
dc.date.issued24/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1404-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research objectives are to develop ability to solve math problems for Mathayomsuksa 2 students who passed the score criteria for 75%. The target group was 7 students at Mathayomsuksa 2 of Banthaisomporn school. The research tools were 1) 10 Lesson plans, 2) mathematical problem solving ability test 3) behavioural observation form, 4) interview and the statistics used for data analysis were mean, percentage, and standard deviations. The results showed that mathematical problem solving ability for Mathayomsuksa 2 students in circuit 1, the target group students had a mean score of 22.29 or around 55.71% of the full score, and has a standard deviation of 2.56 After the end of the circuit 2, the target group students had a mean score of 29.00 or 72.50% of the full score, and with a standard deviation of 4.28 which the total number of students with a total of 4 students who have scored 75% higher than the score of mathematical problem solving.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 75 โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านไทยสมพร จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 10 แผน 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน 4) แบบสัมภาษณ์ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เฉลี่ย 22.29 คิดเป็นร้อยละ 55.71 ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.56 และหลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เฉลี่ย 29.00 คิดเป็นร้อยละ 72.50 ของคะแนนเต็ม และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.28 ซึ่งนักเรียนที่มีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์คะแนนร้อยละ 75 มีจำนวนทั้งสิ้น 4 คนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectจีเอสพีth
dc.subjectMathematics Problem Solving Abilityen
dc.subjectProblem–Based Learningen
dc.subjectThe Geometer's Sketchpad (GSP)en
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleThe Development of Mathematics Problem Solving Ability of Problem - Based Learning and The Geometer's Sketchpad (GSP) for Mathayomsuksa 2en
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับโปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010585022.pdf5.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.