Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanthip Phanpheten
dc.contributorธารทิพย์ พานเพ็ชรth
dc.contributor.advisorPrasong Saihongen
dc.contributor.advisorประสงค์ สายหงษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-03-24T11:22:02Z-
dc.date.available2022-03-24T11:22:02Z-
dc.date.issued29/11/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1457-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were: (1) to develop plans for learning organization using DR-TA learning approaches and KWL-Plus learning approaches for Matthayomsuksa 2 Students level with a required efficiency of 75/75, (2) to find out effectiveness indices of those plans for learning organization, and (3) to compare reading comprehension of Matthayomsuksa 2 students, between who learned using the two different approaches. The instruments used in the study were : (1) plans for organization of learning activities using of the two mentioned approaches, 3 hours per each plan, for a total of 15 hours of each approach; (2) a 30 – item reading comprehension test. They were divided into 2 groups: an experiment group of 43 students taught using DR-TA learning approaches, and control group of 43 students taught using KWL-Plus learning approaches attending in the first semester of the academic year 2021 at Phadungnaree school, Mueang district, Mahasarakham Province. They were selected by the cluster random sampling technique. The statistics used for analyzing data were mean,standard deviation, percentage, and T-test (Independent sample) was employed for testing the hypotheses. The results of the study were as follows: 1. The plans for learning organization using DR-TA Learning approaches and KWL Plus Learning approaches for Matthayomsuksa 2 Students level had efficiencies (E1/E2) of 75.72/78.06 and 75.79/84.57 respectively, which were higher than the established requirement. 2. The plans for learning organization of using DR-TA Learning approaches and KWL Plus Learning approaches had the effectiveness indices of 0.57 (57%) and 0.72 (72%) respectively. This shows that the percentage of students' academic achievement is 57 and 72 3. The students who learned by using KWL Plus Learning approaches showed higher in English reading comprehension than the counterpart, at the level of significance .05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA และแผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ KWL Plus วิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA และแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL Plus วิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ หลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA กับกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL Plus กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 จํานวน 43 คน และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/14 จํานวน 43 คน โรงเรียนผดุงนารี อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ DR-TA เรื่องการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 5 แผน เวลาเรียน 15 ชั่วโมง 2. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนอ่านแบบ KWL-Plus เรื่องการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 5 แผน เวลาเรียน 15 ชั่วโมง 3. แบบทดสอบวัดความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษโดยเป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ผลการวิจัย ปรากฏดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL Plus เรื่อง ความเข้าใจในการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.72/78.06 และ 75.79/84.57 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL Plus เรื่อง ความเข้าใจในการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.57 หรือคิดเป็นร้อยละ 57 และ 0.72 หรือคิดเป็นร้อยละ 72 ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 57 และ 72 3. หลังจากที่ผู้วิจัยได้นําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL Plus เรื่อง ความเข้าใจในการอ่าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาทดลองกับกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL- Plus มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่ากลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการอ่านภาษาอังกฤษth
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectEnglish readingen
dc.subjectLearning Approachesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Comparisons of English reading comprehension abilities between Using DR-TA Learning Approaches and KWL Plus Learning Approaches for Matthayomsuksa 2 Studentsen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA กับจัดการเรียนรู้แบบ KWL Plus สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010585008.pdf6.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.