Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTanyapat Punpumnaken
dc.contributorธันยพัฒน์ พันธุ์พำนักth
dc.contributor.advisorNongluk Viriyapongen
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิริยะพงษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2019-08-19T03:46:26Z-
dc.date.available2019-08-19T03:46:26Z-
dc.date.issued25/5/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/145-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstract          The purposes of this study were (1) to develop lesson plan using learning management with the SSCS model on probability of Mathayomsuksa 3 students based on 75/75 criteria, (2) to study the development of learning achievement on probability of Mathayomsuksa 3 students learned by using learning management with the SSCS model, using the criteria is 50 percent of deducted scores from pre-test exam, (3) to compare the mathematical learning achievement on probability of Mathayomsuksa 3 students learned by using learning management with the SSCS model with 75 percent criteria, (4) to compare the mathematical problem solving skills on probability of Mathayomsuksa 3 students learned by using learning management with the SSCS model with 70 percent criteria. The study samples were 45 students in Mathayomsuksa 3 at second semester of academic year 2018 of Pathumthep Witthayakarn School, Nong Khai province. The sample selected randomly through cluster random sampling. The study instruments were lesson plan based on SSCS model, the mathematical learning achievement test and the mathematical problem solving skills test.           The result of study appeared that           1) The efficiency of lesson plan using learning management with the SSCS model on probability of Mathayomsuksa 3 students was 84.11/81.11 which were higher than the established criteria of 75/75.           2) The development of learning achievement on probability of Mathayomsuksa 3 students learned by using learning management with the SSCS model, average post test score was 16.22 which higher than 50 percent of deducted scores from pre-test exam.           3) Students who have been learning with the SSCS model for enhance mathematical learning achievement and problem solving skills on probability of Mathayomsuksa 3 students had mathematics achievement higher than 75 percent criteria at .05 statistical significance levels.           4) Students who have been learning with the SSCS model for enhance mathematical learning achievement and problem solving skills on probability of Mathayomsuksa 3 students had mathematical problem solving skills higher than 70 percent criteria at .05 statistical significance levels.en
dc.description.abstract          การศึกษาค้นคว้านี้มีความมุ่งหมาย (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2) เพื่อศึกษาพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS โดยใช้เกณฑ์ผ่านร้อยละ 50 ของคะแนนที่ถูกหักออกจากการทดสอบก่อนเรียน (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS กับเกณฑ์ร้อยละ 75 (4) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย จำนวน 45 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์        ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏดังนี้        1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.11/81.11 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ที่ตั้งไว้        2. พัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียน เท่ากับ16.22 คะแนน ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ผ่านเฉลี่ยร้อยละ 50 ของคะแนนที่ถูกหักออกจากการทดสอบก่อนเรียน       3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05       4. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCSth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์th
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectSSCS modelen
dc.subjectmathematics learning achievementen
dc.subjectproblem solving skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLearning Management Using SSCS Model for Enhance Mathematics Learning Achievement and Problem Solving Skill on Probability of Mathayomsuksa 3 Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010283013.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.