Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorVilailuck Seeprakhonen
dc.contributorวิไลลักษณ์ สีประโคนth
dc.contributor.advisorWaraporn Erawanen
dc.contributor.advisorวราพร เอราวรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-03-24T11:22:02Z-
dc.date.available2022-03-24T11:22:02Z-
dc.date.issued4/1/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1461-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were: (1) to compare the learning achievement of grade the sixth grade students by using collaborative problem-solving and (2) to solve 9 students in sixth grade from Ban Khok Yang School Buriram Province in mathematical problem-solving abilities by using collaborative problem-solving to get higher than 70% of criteria. The data collection instruments were: 1. the twelve of cooperative learning activities plans, one hour each, 2. an achievement test and 3.the cooperative problem-solving measure. The research contents were mathematics course, lesson 1: numbers and standard algebra, K 1.1: Understanding the variety of representations of numbers, number systems, operations of numbers, results of operations, properties of operations and implementation. The research period is the first semester of the academic year 2021. The data was analyzed by using percentage, mean and standard deviation. The results of the study were as follows: 1. The students have academic achievement after class higher than before class with a statistically significant at .05 level. 2. The results of problem-solving mathematical ability of the sixth grade students by using collaborative problem-solving in 4 steps as follows: step1: collect or identify problems on a total average of 24 out of a full score of 24, representing 100%, which is higher than the specified criteria, step2: the process of presenting the problem together with the relevant things related to the problem such as tables, graphs, symbols, or words on a total average was 24 out of a full score of 24, representing 100%, which was higher than the specified criteria, step3: strategic planning for solving problems and implement strategies on a total average was 17.11 from a full score of 24, representing 71.29%, which is higher than the specified criteria, and step4: providing feedback obtained by following a strategy during problem solving on a total average was 13.00 from a full score of 24, representing 54.17%, which was lower than the specified criteria. Nevertheless, when combining the four steps, the average was 81.37%, which met the specified criteria.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ โดยใช้การแก้ปัญหาแบบร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียน (2) เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ให้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโคกย่าง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ 12 แผนการเรียนรู้แผนละ 1 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ เนื้อหาในการวิจัย ได้แก่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จำนวน และพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง คือ จำนวนนับ และ 0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระยะเวลาในการวิจัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. การแก้ปัญหาความสามารถทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ในขั้นที่ 1 ขั้นรวบรวมหรือระบุปัญหา มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 24 จากคะแนนเต็ม 24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการนำเสนอปัญหาพร้อมกับสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง กราฟ สัญลักษณ์ หรือคำพูด ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 24 จากคะแนนเต็ม 24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการคิดกลยุทธ์ วิธีเพื่อแก้ปัญหาและดำเนินการตามกลยุทธ์ (เขียนเป็นประโยคทางคณิตศาสตร์หรือวิธีการแก้ปัญหา) ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 17.11 จากคะแนนเต็ม 24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 71.29  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ขั้นตอนที่ 4 ขั้นการให้ผลป้อนกลับที่ได้จากการทำตามกลยุทธ์ในระหว่างการแก้ปัญหา (การตรวจคำตอบหรือผลของการใช้วิธีการแก้ปัญหา) ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 13.00 จากคะแนนเต็ม 24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 54.17 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ แต่เมื่อรวมทั้ง 4 ขั้นตอนแล้วมีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 81.37 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาth
dc.subjectการแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectProblem-Solving Abilityen
dc.subjectCollaborative Problem-Solvingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Academic Achievement and Ability to Solve Problems Mathematical of Prathomsuksa 6 Students by Collaborative Problem Solvingen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010586011.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.