Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorLinda Khajornkhaeen
dc.contributorลินดา เขจรแขth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-03-24T11:22:04Z-
dc.date.available2022-03-24T11:22:04Z-
dc.date.issued25/11/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1467-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to compare the academic achievement of grade 10 students who studied using socioscientific-issues based learning and conventional learning group and 2) to compare the scientific reasoning of the students using socioscientific-issues based learning, topic “DNA technology” and conventional learning group. The sample group used in this research consisted of 90 grade 10 students from 2 classrooms at Kalasin Pittayasan School, Muang District, Kalasin Province, second semester, academic year 2020, obtained by cluster random sampling. The research tools were SSI and conventional lesson plans, achievement test contains 30 4-multiple choice with the difficulty (P) in the range of 0.41-0.75. The discriminant power (B) was in the range of 0.36-0.76, and the confidence value was 0.79, and the 8-item scientific reasoning scale, which was difficult to find was in the range of 0.41-0.71. The discriminant power (B) in the range of 0.25-0.67 , and the confidence value was 0.83 statistics used to test the hypothesis was the independent t. The results indicated that; 1. students who studied using socioscientific-issue based learning had no difference score of learning achievement with conventional group. 2. students who study using socioscientific-issue based learning had score of scientific reasoning higher than conventional group was statistically significance at the .05 level.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์กับเรียนแบบปกติ 2) เปรียบเทียบการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์กับเรียนแบบปกติ เรื่อง เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 90 คน จาก 2 ห้องเรียน โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์และแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ โดยหาค่าความยากง่าย (P) ได้ค่าอยู่ในช่วง 0.41-0.75 ค่าอำนาจจำแนก (B) อยู่ในช่วง 0.36-0.76 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.79 และแบบวัดการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 8 ข้อ ซึ่งหาค่าความยากง่าย (P) ได้อยู่ในช่วง 0.41-0.71 ค่าอำนาจจำแนก (B) อยู่ในช่วง 0.25-0.67 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือค่าทีแบบเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์และแบบปกติมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไม่แตกต่างกัน   2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์มีคะแนนการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectประเด็นทางสังคมth
dc.subjectThe Comparison of Learning Achievementen
dc.subjectScientific Reasoningen
dc.subjectSocioscientific-issuesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Comparison of Learning Achievement and Scientific Reasoning of Grade 10 Students by using Socioscientific-issues Based and Conventionalen
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์และแบบปกติth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010585003.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.