Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1470
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Khankaew Promcum | en |
dc.contributor | ขันแก้ว พรมคำ | th |
dc.contributor.advisor | Surachet Noirid | en |
dc.contributor.advisor | สุรเชต น้อยฤทธิ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T11:22:05Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T11:22:05Z | - |
dc.date.issued | 27/11/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1470 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The research aims to 1. Study the current situation. and the desirable conditions and necessities of the administration of educational institutions using the principles of good governance for educational institutions. Under the local government organization, Loei Province 2. Develop guidelines for school administration by using good governance The research was divided into 2 phases. Phase 1 studied the current condition. and desirable conditions and necessities Of the 186 school administrators and teachers, according to the tables of Krazy and Morgan, the tool was a questionnaire. The consensus index was 0.60–1.00, the discriminating power of the current condition questionnaire was 0.41-0.91 and the confidence value was 0.98, the desirable condition was 0.58-0.87 and the confidence value was 0.98. administering educational institutions using the principles of good governance for educational institutions There were 8 academics who had knowledge of institutional governance from Focus Group Discussion. The results of the assessment of the appropriateness and feasibility of the guidelines were at a high level. The results of the research showed that: 1. the current state of educational institution administration based on the principles of good governance Overall, it's at a high level. The overall desirable condition was at a high level. Requirements need to develop guidelines. Sorted in descending order as follows: School administration using the rule of law, morality, value for money. principle of participation transparency principle and the principle of responsibility. 2. The development approach is Educational administrators should search for knowledge about various information. in the regulations to be current Administrators should monitor teachers and personnel in their work. and spend the budget with honesty School administrators should arrange for teachers to study on technology for use in teaching and learning according to the situation. The administrators must involve all stakeholders in education, including teachers, students, parents, and the community, to participate in educational management in school projects and activities throughout the year. Educational institutions should prepare an operational calendar in order to be in accordance with the operational plan. and executives distribute tasks in their responsibilities to personnel. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยมีความมุ่งหมายเพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลสำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย 2. พัฒนาแนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล โดยการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็น จากผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 186 คน ตามตารางของเครซี่ และมอร์แกน เครื่องมือคือแบบสอบถาม โดยได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.60–1.00 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อของแบบสอบถามสภาพปัจจุบัน คือ 0.41-0.91 และค่าความเชื่อมั่นคือ 0.98 สภาพที่พึงประสงค์ คือ 0.58-0.87 และค่าความเชื่อมั่นคือ 0.98 ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลสำหรับสถานศึกษา โดยนักวิชาที่มีความรู้เรื่องธรรมาภิบาลในสถานศึกษา จำนวน 8 คน จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นได้ของแนวทางอยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการบริหารสถานศึกษาโดยยึดหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการจำเป็นพัฒนาแนวทาง เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความคุ้มค่า หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส และหลักความรับผิดชอบ 2. แนวทางการพัฒนาคือ ผู้บริหารศึกษาควรค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกบข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในกฎระเบียบให้เป็นปัจจุบัน ผู้บริหารควรกำกับติดตามครูและบุคลากรในการปฏิบัติงาน และใช้จ่ายงบประมาณด้วยความสุจริต ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดให้ครูไปศึกษาดูงานในด้านเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามสถานการณ์ ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา ทั้งครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดทั้งชุมชนมีส่วนร่วมดำเนินการจัดการศึกษาในโครงการและกิจกรรมของสถานศึกษาที่จัดขึ้นตลอดปี สถานศึกษาควรจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงาน และผู้บริหารกระจายงานในความรับผิดชอบให้กับบุคลากร | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนา | th |
dc.subject | แนวทางการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล | th |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th |
dc.subject | The Development | en |
dc.subject | Good Governance Administration Guidelines | en |
dc.subject | Local Administration Organization | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development of Good Governance Administration Guidelines under Loei Local Administration Organization | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62010586078.pdf | 6.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.