Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1479
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWipaporn Leekaewen
dc.contributorวิภาพร ลีแก้วth
dc.contributor.advisorTharinthorn Namwanen
dc.contributor.advisorธรินธร นามวรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-03-24T11:22:06Z-
dc.date.available2022-03-24T11:22:06Z-
dc.date.issued21/12/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1479-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to; 1) study current conditions, desirable conditions, and the needs to Development of Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2. and 2) to develop guidelines of Development of  Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2. The research method was divided into 2 phases. Phase 1 was to study current conditions, desirable conditions, and the needs to enhance Development of Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2. The samples were 334 school administrators and teachers under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2. through stratified random sampling technique and research instrument was scaling questionnaire. Phase 2 to develop guidelines of enhance Udonthani Primary Educational Service Area 2. The development guideline was evaluated by 5 experts through purposive sampling technique and research instrument was an assessment of appropriateness and feasibility of the guideline. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and modified priority index. The results showed that; 1. The overall opinions concerning the current, and desirable conditions to Development of Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2 were found to be at the moderate level. In addition, the desirable conditions could be observed at highest level. Furthermore, the priority need order including: 1) learning measurement and evaluation 2) learner-centered learning management 3) media use and development, innovation, technology for learning management 4) knowledge, design ability Learn 5) Curriculum creation and development. 2. The Guidelines for Development of Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2 there are a total of 33 guidelines. Overall, they were appropriate at the highest level. The mean is 4.98 and the probability is at the highest level. has an average of 4.88.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จากสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 จำนวน 334 คน ได้มาโดยกลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 และประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตร ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ส่วนความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) ด้านการใช้และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ 5) ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตร 2. แนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 มีทั้งหมด 33 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.98 และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.88th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางการพัฒนาth
dc.subjectบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาth
dc.subjectDevelopment Guidelinesen
dc.subjectDevelopment of Curriculum Administration and Learning Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Guidelines for Development of Curriculum Administration and Learning Management in Schools under the Office of Udonthani Primary Educational Service Area 2en
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581052.pdf8.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.