Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNisa Panyaen
dc.contributorนิสา ปัญญาth
dc.contributor.advisorAdisorn  Wongkongdechen
dc.contributor.advisorอดิศร วงศ์คงเดชth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2022-03-24T13:40:53Z-
dc.date.available2022-03-24T13:40:53Z-
dc.date.issued20/12/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1522-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe action research was employed for development of a sub-district model for quality of life management by participation of Som Poi Community, Rasi Salai District, Sisaket Province by applying the principles of Buddhist planning according to the Four Noble Truths (Dukkha, Samudaya, Nirodha, Magga) to create participation. The research purpose is to investigate the situation, context, process of model development for improving the quality of life management by participation of Som Poi Community, Rasi Salai District, Sisaket Province. A sample group of 40 people was selected for a specific study, consisting of 35 community organizations, 2 government organizations, and 3 local organizations. The data was collected by the questionnaire including; 1) the knowledge of sub-district management operation the quality of life management, 2) the attitudes of the operation of the quality of life management, 3) the assessment form for participation in the implementation of the sub-district management of quality of life. The participant observation form was also employed for group discussion. The quantitative data were analysed using descriptive statistics and the qualitative data used content analysis. The results revealed that the participations were consisted of 6 steps: 1) the study of the community context and collecting general data, 2) Workshop, 3) Forming a participatory action plan, 4) Implementing the plan, 5) Monitoring and evaluation and 6) Summarize results and propose ways to improve quality of life. Applying a model of participatory community planning by applying Buddhist principles cause activity for the new model to manage the quality of life consists of 2 projects and 4 activities; First project, the knowledge development for patients and risk groups for diabetes and hypertension, such as, A) Knowledge development training activities for people with diabetes and high blood pressure, B) Training activities to develop knowledge for people at risk of diabetes and high blood pressure. Second project was the community outreach project to exercise in every village, such as A) Activities exercise for the leaders, B) Exercise activities for the people. It was also found that after the development of the model. The participants had a high level of knowledge of sub-district management operation the quality of life management (98.86%), had a good attitude of the operation of the quality of life management (58.29%), and the assessment for participation in a project of the sub-district management of quality of life was in a high level of all participants (40 people), representing 100%, with a mean score of 4.41 (SD=0.10). Suggestions for next study, there should be a study and promotion of participatory operations in various groups in the community in order to gain perspectives different concept in joint development In addition. Including to follow-up periodically evaluate the results after the operation to ensure sustainability of the operation.en
dc.description.abstractการพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิต โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนส้มป่อย อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) และประยุกต์ใช้หลักการวางแผนเชิงพุทธตามหลักอริยะสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) มาใช้สร้างการมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ บริบท กระบวนการพัฒนารูปแบบ และผลการดำเนินงานการพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิต โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนส้มป่อย อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาแบบเจาะจง จำนวน 40 คน ประกอบด้วย  กลุ่มองค์กรชุมชน จำนวน 35 คน กลุ่มองค์กรรัฐ จำนวน 2 คน และกลุ่มองค์กรท้องถิ่น จำนวน 3 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามข้อมูลลักษณะทางประชากรทั่วไป แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานการจัดการตำบลจัดการคุณภาพชีวิต ทัศนคติเกี่ยวกับการดำเนินงานตำบลจัดการคุณภาพชีวิต  และแบบประเมินการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานการจัดการตำบลจัดการคุณภาพชีวิต แบบสังเกตการณ์มีส่วนร่วม ประเด็นคำถามกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า การพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิต โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนส้มป่อย ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ (1) การศึกษาบริบทชุมชนและ เก็บข้อมูลทั่วไป (2) การประชุมเชิงปฏิบัติการ (3) การจัดทำแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (4) การปฏิบัติตามแผน (5) นิเทศติดตามและประเมินผล (6) สรุปผลและเสนอแนวทางปรับปรุงยกระดับคุณภาพชีวิต การใช้รูปแบบการจัดทำแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วมโดยประยุกต์หลักการเชิงพุทธศาสนา ทำให้เกิดกิจกรรม รูปแบบใหม่ของชุมชนในการดำเนินงานตำบลจัดการคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย 2 โครงการ 4 กิจกรรม คือ 1) โครงการพัฒนาความรู้ในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง (1.1) กิจกรรมอบรมพัฒนาความรู้สำหรับกลุ่มป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง (1.2) กิจกรรมอบรมพัฒนาความรู้สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง 2) โครงการชุมชนร่วมใจออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน ( 2.1)  กิจกรรมพัฒนาแกนนำออกกำลังกาย (2.2) กิจกรรมดำเนินการออกกำลังกายในทุกหมู่บ้านในประชาชนทุกกลุ่มวัย พบว่าหลังดำเนินการพัฒนารูปแบบ กลุ่มเป้าหมายมีระดับความรู้อยู่ในระดับสูงร้อยละ 98.86 มีทัศนคติอยู่ในระดับดี ร้อยละ 58.29 และมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.41 (SD=0.10) ข้อเสนอแนะสำหรับวิจัยครั้งต่อไป ควรมีศึกษาและส่งเสริมการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อให้เห็นมุมมอง แนวคิดที่แตกต่าง ในการร่วมกันพัฒนา อีกทั้งควรมีการติดตาม ประเมินผลหลังดำเนินการเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงานth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectตำบลจัดการคุณภาพชีวิตth
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนth
dc.subject-Development of Quality of Life Management Modelen
dc.subjectTambon of Quality of Life Managementen
dc.subjectthe Participation of Communityen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Development of Tambon of Quality of Life Management Model by the Participation of Sompoi Community, Rasi Salai District, Si Sa Ket Provinceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิตโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนส้มป่อย อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011480004.pdf5.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.