Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKotchasi Charoensuken
dc.contributorคชสีห์ เจริญสุขth
dc.contributor.advisorNarongruch Woramitmaiteeen
dc.contributor.advisorณรงค์รัชช์ วรมิตรไมตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. College of Musicen
dc.date.accessioned2022-03-24T15:08:27Z-
dc.date.available2022-03-24T15:08:27Z-
dc.date.issued30/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1542-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis article aimed to 1) study Saw Bang musical features and 2) develop 4 sizes of Saw Bang consisting 4 scales based on western music theory. The findings were as follows. 1) Bang was made from Pai-Hia or Pai-Sang bamboos originally standard sizes for Soprano and Alto while using “Nan” bamboo for Tenor and Bass to sharpened not exceed than 60% of the circumference of the barrel. 2) The original string tree made out of cotton robe was the best because cotton was soft and easily attached to chest. However, materials did not directly affect sound production. 3)  Bridge was and tightly attached to Bang with wood glue to transfer more effective vibration. 4) For strings, (1) Violin strings 1 and 2 were used for creating Soprano,  (2) violin strings 3 and 4 for Alto, (3) Cello strings 3 and 4, and (4) double base strings 1 and 2 for Bass. 5) Tuning keys were made of wood to reduce limitations of bamboo sizes. 6) Ngong was made from bamboo and bow from horsetail due to its toughness. 7) The original sound hole is effective to make sound, however bigger size can be more effective.    en
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณลักษณะทางดนตรีของซอบั้งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาคุณลักษณะทางดนตรีของซอบั้ง 2) เพื่อพัฒนาซอบั้งให้มี 4 ขนาด และมีลักษณะเสียง 4 ช่วงเสียง ตามหลักการประสานเสียงในทฤษฎีดนตรีสากล ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวซอ ใช้ไผ่เฮี้ยะหรือไผ่ซางเพื่อประดิษฐ์ซอบั้งขนาดมาตรฐานในแนวเสียงโซปราโนและอัลโต และใช้ไผ่ยักษ์น่านในการประดิษฐ์ซอบั้งในแนวเสียงเทนเนอร์และเบส การเหลาถากกระบอกซอนั้นสามารถเหลาเนื้อไม้แค่ส่วนหน้าราวๆ ครึ่งกระบอกไม่เกิน 60% ของรอบวงกระบอก  2) รัดอก ทำจากเชือกในรูปแบบเดิมให้ผลดีที่สุดเนื่องจากเชือกฝ้ายจะมีความอ่อนนุ่มมัดทำรัดอกให้แน่นได้ง่าย ทั้งนี้การใช้วัสดุในการทำรัดอกไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพในการสร้างเสียงของซอบั้ง 3) สะพานสายสร้างให้มีฐานแนบกับตัวซอบั้งยาวตลอดแนวสะพานสาย นำกาวติดไม้มาทาเพื่อติดตั้งให้สะพานสายมีความแข็งแรงและแนบสนิทกับตัวซอบั้งทำให้สามารถส่งถ่ายแรงสั่นสะเทือนได้ดีขึ้น 4) สายซอ (1) ซอบั้งในแนวเสียงโซปราโน ใช้สายไวโอลินสายที่ 1 และ 2 ในการประดิษฐ์ (2) ซอบั้งในแนวเสียงอัลโต ใช้สายไวโอลินสายที่ 3 และ 4 ในการประดิษฐ์ (3) ซอบั้งในแนวเสียงเทนเนอร์ ใช้สายเชลโลสายที่ 3 และ 4 ในการประดิษฐ์ (4) ซอบั้งในแนวเสียงเบส ใช้สายดับเบิลเบสสายที่ 1 และ 2 ในการประดิษฐ์ 5) ลูกบิด ใช้ไม้เนื้อแข็งเป็นการลดข้อจำกัดในเรื่องขนาดของไม้ไผ่ที่จะนำมาใช้ทำลูกบิดซอบั้งขนาดใหญ่ 6) คันชักหรือง่อง ใช้ไม้ไผ่ในการประดิษฐ์และใช้หางม้าในการทำสายของคันชัก เนื่องจากตัวหางม้าจะมีความสากและเหนียว และ 7) รูเสียง การเจาะรูเสียงตามในรูปแบบเดิมให้ผลดีอยู่แล้วหากขยายขนาดของรูให้ใหญ่ขึ้นก็จะให้ผลดีมากขึ้น      th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectซอบั้งth
dc.subjectซอไม้ไผ่th
dc.subjectคุณลักษณะทางดนตรีของซอบั้งth
dc.subjectSaw Bangen
dc.subjectWooden Sawen
dc.subjectmusical feature of Saw Bangen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe creative development of Saw Bung banden
dc.titleการสร้างสรรค์พัฒนาวงซอบั้งth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60012060001.pdf19.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.