Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattawut Jitrapinateen
dc.contributorณัฐวุฒิ จิตราพิเนตรth
dc.contributor.advisorMaliwan Tunapanen
dc.contributor.advisorมะลิวัลย์ ภัทรชาลีกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2022-05-25T09:36:14Z-
dc.date.available2022-05-25T09:36:14Z-
dc.date.issued29/3/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1573-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were: 1) to develop sixth-grade students’ math learning activities, according to Van Hiele model by using GSP program, titled ‘Circle’, with an efficacy on 70/70 criteria.; 2) to study an effectiveness index of plans; 3) to study the students’ geometric thinking before and after class; 4) to compare student achievements with a 70 percent threshold; ,and 5) to explore the satisfaction of students on their learning activities. The sample was a class of 11 sixth-grade students, which were obtained by a cluster sampling method, at Ban Nong Phue School, Maha Sarakham Province. The research tools were as followed; a set of 9 lesson plans for mathematics based on Van Hiele Model with the use of GPS program, geometric thinking measurement test containing 8 objective items and 2 subjective items with a consistency index of 1.00, a difficulty ranged from 0.35-0.50, a discrimination ranged from 0.30-0.50, and a reliability of 0.84 for the whole test. an achievement test providing 20 multiple-choice questions with a consistency index ranged from 0.60-1.00, a difficulty ranged from 0.29-0.64, a discrimination ranged from 0.43-0.71, and a reliability of 0.99 for the whole test. and the 20-item questionnaire of satisfaction measurement has a content accuracy at 1.00. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing using t-test for One Sample. The research showed that the math lesson plans based on the Van Hiele model with the use of GSP program consists of 5 steps, including  acquisition, introduction, explanation, independent direction determination, and integration. The GSP program was applied in stage 2 and stage 3 with an efficiency at 87.60/79.55 and an effectiveness index of 0.7852. It shows that students’ arithmetic potentials have relatively progressed for 78.52%, besides; the students who participated the developed learning activities have achieved 50.83% higher level of geometric thinking compared to before-class. Also, the learning achievement was accounted for 79.5 percent, which is higher than the 70% threshold at the .05 level of significance. Furthermore, the level of the satisfaction towards the learning activities is ultimate ( = 4.62 and S.D. = 0.47).  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามรูปแบบแวนฮีลี โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี  เรื่อง วงกลม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผล 3) ศึกษาความคิดเชิงเรขาคณิตก่อนเรียนและหลังเรียน 4) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 5) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ข้างต้น โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองผือ จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 1 ห้องเรียน ทั้งหมด 11 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบแวนฮีลี โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี จำนวน 9 แผน แบบทดสอบวัดความคิดเชิงเรขาคณิต แบบปรนัย 8 ข้อ อัตนัย จำนวน 2 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00  ค่าความยากตั้งแต่ 0.27-0.73 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20-0.67 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.84 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยเลือกตอบ จำนวน 20 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเฉลี่ย 0.93 ค่าความยากตั้งแต่ 0.29-0.64 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.43-0.71  ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 และแบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ จำนวน 20 ข้อ มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test for One Sample ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบแวนฮีลี โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการรับข้อมูล ขั้นการแนะแนวสิ่งใหม่ ขั้นการอธิบาย ขั้นการกําหนดทิศทางอย่างมีอิสระ และขั้นบูรณาการ ซึ่งประยุกต์ใช้โปรแกรมจีเอสพีในขั้นที่ 2 และ 3 มีประสิทธิภาพ 87.60/79.55 และค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7852 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 78.52 อีกทั้งนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าว  มีความคิดเชิงเรขาคณิตหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ร้อยละ 50.83 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเป็นร้อยละ 79.55 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 นอกจากนี้ยังมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.62 และ S.D. = 0.47)    th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบแวนฮีลีth
dc.subjectโปรแกรมจีเอสพีth
dc.subjectความคิดเชิงเรขาคณิตth
dc.subjectLearning Activities Based on Van Hiele Modelen
dc.subjectGSP Programen
dc.subjectGeometric Thinkingen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleDevelopment of Mathematics Learning Activities Based on Van Hiele’s Instructional Model Using the Geometer’s Sketchpad on Circle for Prathomsuksa 6en
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามรูปแบบแวนฮีลี โดยใช้โปรแกรมจีเอสพี เรื่อง วงกลม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010283004.pdf6.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.