Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWittawat Nabumrungen
dc.contributorวิทวัส นาบำรุงth
dc.contributor.advisorTitiworada Polyiemen
dc.contributor.advisorฐิติวรดา พลเยี่ยมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-05-25T09:48:41Z-
dc.date.available2022-05-25T09:48:41Z-
dc.date.issued18/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1574-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the research were; 1) to study the current condition Desirable condition and necessity of the instructional internal supervision for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30. The 30 tools used in the research were current condition questionnaires. Desirable conditions of instructional internal supervision The statistics used to analyze the data were mean, standard deviation, Percentage value, population, among administrators and school teachers. Under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 30, there were 2,197 people. The samples were school administrators and teachers. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30, 235 people. 2) To develop a program for developing internal supervision, a teaching model for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30.The research instruments were structured interviews. Program assessment The research instruments included the program suitability assessment.The population consisted of five experts. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation. The results were as follows 1. Study of current condition Desirable condition And the necessity of internal supervision, instructional model for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30, it was found that the current state of the instructional supervision. Overall was at a moderate level. In desirable conditions, overall instructional supervision was at a high level. The need for instructional supervision was found in descending order, namely 1) instructional planning, 2) implementation of the instructional plan, 3) pre-teaching preparation, and 4) aspects of teaching planning. Evaluate and monitor results 2. Development of instructional internal supervision programs for educational institutions. Subordinate to the Secondary Educational Service Area Office 30 consisted of 1) Rationale 2) Purpose 3) Content 4) Development method 5) Action process 6) Evaluation of Internal Supervision. Model The instructional model consists of 4 models, namely, Model 1, pre-teaching preparation, suggestion model 2, teaching planning, teaching model 3, adherence to instructional plan, and Model 4 in evaluation and summary. Assessing the Suitability of Instructional Internal Supervision Program for Educational Institutions Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30, it was found that overall was appropriate at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการนิเทศภายในแบบสอนแนะสําหรับสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในแบบสอนแนะ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จำนวน 2,197 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จำนวน 235 คน 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมพัฒนาการนิเทศภายในแบบสอนแนะสําหรับสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การประเมินโปรแกรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของโปรแกรม ประชากร ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการนิเทศภายในแบบสอนแนะสําหรับสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 พบว่า สภาพปัจจุบันการนิเทศภายในแบบสอนแนะ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์การนิเทศแบบสอนแนะโดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการจำเป็นของการนิเทศแบบสอนแนะเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านการวางแผนการสอนแนะ 2) ด้านการปฏิบัติตามแผนการสอนแนะ 3) ด้านการเตรียมการก่อนสอนแนะ และ 4) ด้านการประเมินและติดตามผล 2. การพัฒนาโปรแกรมการนิเทศภายในแบบสอนแนะสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ประกอบด้วย 1) หลักการและเหตุผล 2) จุดมุ่งหมาย 3) เนื้อหา 4) วิธีการดำเนินการพัฒนา 5) ขั้นตอนดําเนินการ 6) การประเมินผล Modelการนิเทศภายในแบบสอนแนะ ประกอบด้วย 4 Model ได้แก่ Model 1 การเตรียมการก่อนสอนแนะ Model 2 ด้านการวางแผนการสอนแนะ Model 3 การปฏิบัติตามแผนการสอนแนะ และ Model 4 ด้านการประเมินผลและสรุปผล การประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการนิเทศภายในแบบสอนแนะสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectการนิเทศภายในแบบสอนแนะth
dc.subjectการนิเทศภายในth
dc.subjectProgram developmenten
dc.subjectUnder internal supervisionen
dc.subjectInternal supervisionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping a Program  for Coaching Supervision in Schools  Under the Office of the Secondary Educational Service Area 30en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการนิเทศภายในแบบสอนแนะสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586033.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.