Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sompit Sukgunya | en |
dc.contributor | สมพิศ สุขกัลยา | th |
dc.contributor.advisor | Titiworada Polyiem | en |
dc.contributor.advisor | ฐิติวรดา พลเยี่ยม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-05-25T09:48:42Z | - |
dc.date.available | 2022-05-25T09:48:42Z | - |
dc.date.issued | 7/5/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1575 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of the research were; 1) to study the current condition. Desirable conditions and necessities of problem-based learning management for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28. The tools used were current conditions questionnaire. The desirable condition of problem-based learning management; The statistics used were mean, standard deviation, percentage value. The population was school administrators and teachers. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28, total 4,251 people. The samples were school administrators and teachers. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28, total 352 people. 2) To develop a teacher development program in problem-based learning management for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28. The instruments used were structured interviews. Draft development of a teacher development program in problem-based learning management for educational institutes. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28. Assessing the teacher development program in learning management by using problem-based problems for educational institutions. Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28. The tools used were the program assessments. The population used is a qualified person of 5 people. The statistics used were mean, standard deviation. The results were as follows 1. Study of current condition Desirable condition And the necessity of learning management using problem-based learning institutions Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28, it was found that the current state of problem-based learning management found that overall was at a moderate level. And desirable condition, the necessity of problem-based learning management was found that overall was at a high level. The essential needs of problem-based learning management were found in descending order: 1) knowledge synthesis 2) understanding of problems 3) linking and problem identification 4) aspects Conducting studies and 5) summing and evaluating learning results. 2. Development of a teacher development program in problem-based learning management for educational institutions Under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 28, it consists of 1) Rationale and Rationale 2) Purpose 3) Content 4) Development method 5) Procedure 6) Evaluation. Model for the development of teacher development programs in problem-based learning management, consisting of 5 models, namely Model 1, the linkage and problem identification, Model 2, the understanding of the problem, Model 3, the implementation of the study and research, Model 4, the synthesis. Knowledge and Model 5 in Summary and Evaluation of Learning Results Assessing the Suitability of a Problem-Based Learning Management Teacher Development Program for Educational Institutions Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28, it was found that overall was the most appropriate. Assessing the Suitability of a Problem-Based Learning Management Teacher Development Program for Educational Institutions Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28, it was found that overall was the most appropriate. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 4,251 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จำนวน 352 คน 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ร่างการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ประเมินโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของโปรแกรม ประชากรที่ใช้ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเรียงจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านการสังเคราะห์ความรู้ 2) ด้านการทำความเข้าใจกับปัญหา 3) ด้านการเชื่อมโยงและระบุปัญหา 4) ด้านการดำเนินการศึกษาค้นคว้า และ5) ด้านการสรุปและประเมินผลการเรียนรู้ 2. การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ประกอบด้วย 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) รูปแบบและวิธีการพัฒนา 4) เนื้อหา 5) เทคนิคและเครื่องมือ 6) การประเมินผล Model การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ประกอบด้วย 5 Model ได้แก่ Model 1 ด้านการเชื่อมโยงและระบุปัญหา Model 2 ด้านการทำความเข้าใจกับปัญหา Model 3 ด้านการดำเนินการศึกษาค้นคว้า Model 4 ด้านการสังเคราะห์ความรู้ และ Model 5 ด้านการสรุปและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนาโปรแกรม | th |
dc.subject | การพัฒนาครู | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | Program development | en |
dc.subject | Teacher development | en |
dc.subject | Management of problem-based learning | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development of a Problem Based Learning Management Teacher Development Program for Schools Under the Office of the Secondary Educational Service Area 28 | en |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58010586038.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.