Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1591
Title: Creative Stage Play from Isan Local Literature : Features and Relationship with Thai Language Course Learning Management
ละครเวทีสร้างสรรค์จากวรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน : ลักษณะเด่นและความสัมพันธ์กับการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย
Authors: Niwat Chinserm
นิวัฒน์ ชินเสริม
Nutkritta Nammontree
ณัฐกฤตา นามมนตรี
Mahasarakham University. The Faculty of Humanities and Social Sciences
Keywords: ละครเวทีสร้างสรรค์
วรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน
การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
creative stage plays
Isan local literature
Thai language learning management
Issue Date:  5
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research studied the subject “Creative Stage Plays from Local Isan Literature: Distinctive Characteristics and Relationships with Learning Management in Thai Language Courses” aimed to analyze content of local Isan literature and outstanding characteristics of creative stage plays. and to study the relationship between creative stage plays and learning management in Thai language courses. which has transformed the text from local Isan literature to be used as a creative stage play by bringing the story The Legend of Fa Daet Song Yang, Phra Ariyanuwat Khemjaree, Pha Daeng, Nang Ai, Pricha Pinthong, Khulu, Nang Ua, Pricha Pinthong, Sinxai edition, Compiled edition, Sen Sitaan Manora, Ariyanuwat Khemacharee version to create a creative stage play The story of Fa Yat, the story of Pha Daeng, Nang Ai Phang Kee, the story of Hua Khiam, the story of Sin Sai, and the story of Siton Manora. The results showed that the use of local Isan literature to be used as a creative stage play by bringing creative stage characters The stories Fa Yad, Pha Daeng, Nang Ai Phang Kee, U Kiam, Sin Sai and Sithon Manora were used in the analysis through a technique of translating images from local literary texts into creative stage plays. Understand the types of plays presentation style The elements of the theater storytelling tactics and the actions of the characters including various techniques, stage plays, whether light, color and sound.
วิจัยครั้งนี้ศึกษาเรื่อง “ละครเวทีสร้างสรรค์จากวรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน : ลักษณะเด่นและความสัมพันธ์กับการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานและลักษณะเด่นของบทละครเวทีสร้างสรรค์ และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างละครเวทีสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ที่มีการแปรรูปตัวบทจากวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานเพื่อนำมาเป็นละครเวทีสร้างสรรค์ โดยได้นำตัวบทเรื่อง ตำนานเมืองฟ้าแดดสงยาง ฉบับพระ  อริยานุวัตร เขมจารี ผาแดง นางไอ่ ฉบับปรีชา พิณทอง ขูลู นางอั้ว ฉบับปรีชา พิณทอง, สินไซ ฉบับประมวล พิมพ์เสน สีทน มะโนรา ฉบับพระอริยานุวัตร เขมจารี มาสร้างเป็นละครเวทีสร้างสรรค์เรื่อง เรื่องฟ้าหยาด เรื่องผาแดง นางไอ่ พังคี เรื่องอั้วเคียม เรื่องสินไซ และเรื่องสีทน มะโนรา ผลการวิจัยพบว่าการนำวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานเพื่อนำมาเป็นบทละครเวทีสร้างสรรค์ โดยได้นำตัวบทละครเวทีสร้างสรรค์ เรื่องฟ้าหยาด เรื่องผาแดง นางไอ่ พังคี เรื่องอั้วเคียม เรื่องสินไซ และเรื่อง สีทน มะโนรา มาใช้ในการวิเคราะห์ผ่านกลวิธีการแปลรูปจากตัวบทวรรณกรรมท้องถิ่นมาเป็นบทละครเวทีสร้างสรรค์โดยผู้เขียนบทจะต้องเข้าใจประเภทของละครเวที รูปแบบการนำเสนอ องค์ประกอบของละครเวที กลวิธีการเล่าเรื่อง และการกระทำของตัวละคร รวมถึงเทคนิคต่าง ๆ บทเวทีการแสดงไม่ว่าจะเป็น แสง สี และเสียง
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1591
Appears in Collections:The Faculty of Humanities and Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010182012.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.