Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaraporn Ardkhamphaien
dc.contributorวราภรณ์  อาจคำไพth
dc.contributor.advisorJiraporn Chanoen
dc.contributor.advisorจิระพร ชะโนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:10Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:10Z-
dc.date.issued23/4/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1618-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the current condition and needed of the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework for pre-service teachers 2) to develop the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework for pre-service teachers 3) to study the using result of the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework 3.1 to study on enhancing learning management of the pre-service teachers 3.2 to compare the knowledge during pre and post of using the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework. The research instruments were 1) The questionnaire current condition and needed for pre-service teachers. 2) The assessment learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework. 3) Pretest and Posttest of using the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework. The sample group are 27 of super senior students and The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test difference of pretest and posttest of using  the training curriculum needed of the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) The statistics used t-test (Dependent Samples) The findings of this research were as follows: 1. The current condition of super senior students about learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework the level was moderate and super senior students needed the training curriculum to enhance learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework to the level of was moderate. 2. findings of data synthesis from concept and theory has development of the curriculum 6 component 1) The principles of the curriculum 2) The purposes of the curriculum 3) The structure of the curriculum 4) The content of the curriculum 5) The teaching materials 6) The evaluation The findings after using the training curriculum found that the competency of the learning management on of the planning and design of the learning management plan the level of a high level overall, The innovation development for learning management, the level of a high level overall. The enhance of the learning management on learning management activities, the level of a high level overall. 3. The result of using the training Curriculum found that the learning management competence in planning and designing learning management plan is at a high level overall 3.1 the learning management competence in innovation development for learning management is at a high level overall, the learning management competence in learning activities is at a high level overall, the learning evaluation is at a high level overall, and 3.2 the comparative result of the enhancing learning management competency based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) framework of the pre-service teachers, the posttest scores were higher than that of the pretest at the statistically significant difference .05.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการของนักศึกษาวิชาชีพครู เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์ การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) 2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 3) เพื่อศึกษาผลของการใช้หลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู 3.1) เพื่อศึกษาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาวิชาชีพครู 3.2) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ระหว่างก่อนและหลังการใช้หลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและความต้องการของนักศึกษาวิชาชีพครู 2) แบบประเมินสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) 3) แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการใช้หลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่ 5 จำนวน 27 คน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของความรู้ก่อนและหลังการใช้หลักสูตรฝึกอบรมโดยใช้ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันของนักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 เกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และนักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 มีความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้วิจัยสังเคราะห์จากแนวคิดและทฤษฎี ได้พัฒนาองค์ประกอบของหลักสูตร 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของหลักสูตร 2) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) โครงสร้างหลักสูตร 4) เนื้อหาสาระของหลักสูตร 5) สื่อการเรียนการสอน 6) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3. ผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรม พบว่าสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ด้านการวางแผนและออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวมระดับอยู่ในระดับมาก สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ด้านการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านการประเมินผลการเรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และผลการเปรียบเทียบคะแนนความรู้ก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรมการใช้หลักสูตรตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) ของนักศึกษามีคะแนนหลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมth
dc.subjectสมรรถนะการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK)th
dc.subjectThe Development of the Training Curriculumen
dc.subjectThe Enhance Learning Management Competencyen
dc.subjectTechnological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) Frameworken
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of the Training Curriculum to Enhance Learning Management Competency Based on Technological Pedagogical and Content Knowledge (TPACK) Framework for Pre-service Teachersen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดความรู้ในเนื้อหาศาสตร์การสอนและเทคโนโลยี (TPACK) สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010563004.pdf6.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.