Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1662
Title: | Strategies for the Management of Marching Band in Special Large Secondary Schools in Kalasin Province กลยุทธ์การบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ |
Authors: | Weeraphon Laochai วีระพล เหล่าชัย Pacharawit Chansirisira พชรวิทย์ จันทร์ศิริสิร Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | กลยุทธ์ การบริหารจัดการ วงโยธวาทิต Strategies Management Marching Band |
Issue Date: | 21 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The objectives of this research are 1) to study the problem of marching band management. Extra large secondary school in Kalasin Province 2) to develop management strategies. The marching band, extra large secondary school in Kalasin Province.
The results showed that:
1. Results of the analysis of current conditions in the management of the marching band Extra large secondary school In Kalasin Province, it was found that, overall, there was a marching band management. At a high level (x̅ = 4.15). Considering each aspect, the current condition in the marching band management was at the highest level, one aspect was the development and targeting of the marching band (x̅ = 4.56) and 6 aspects were at a high level. This was the aspect of organizing activities and the form of rehearsal of the marching band (x̅ = 4.13), followed by the measurement and evaluation aspect of the marching band development (x̅ = 4.09), followed by the measurement and evaluation of the marching band. Develop a marching band (x̅ = 4.09) followed by media development, innovation, and technology for marching band development (x̅ = 4.07), followed by planning for marching band rehearsal (x̅ = 4.06) and the current state of marching band management. minimal is research and study for quality improvement of marching band management (x̅ = 4.05).
2. The results of the analysis of the problem of marching band management Extra large secondary school In Kalasin Province, it was found that, overall, there was a marching band management. At a low level (x̅ = 2.20) when considering each aspect, there were problems in the marching band management. at a low level in all aspects is the aspect of organizing activities and the form of rehearsal of the marching band (x̅ = 2.23) followed by media development, innovation, and technology for marching band development (x̅ = 2.23), followed by research and education for improving the quality of marching band management (x̅ = 2.22), followed by development and Set the goal of the marching band (x̅ = 2.21) followed by the measurement and evaluation of the marching band development (x̅ = 2.20), followed by the supervision and monitoring of the marching band development. (x̅ = 2.18) The side with the least mean is to supervise and monitor the development of the marching band (x̅ = 2.18). การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการดำเนินการวิจัย 2 ระยะ คือ 1) ศึกษาสภาพปัญหาสภาพปัญหาของการบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) พัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ และร่างกลยุทธ์ ประเมินโดยผู้ใช้ว่ามีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับใด ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า โดยรวมมีการบริหารจัดการวงโยธวาทิต อยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.15) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีสภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการวงโยธวาทิตอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน คือด้านการพัฒนาและกำหนดเป้าหมายของวงโยธวาทิต (x̅ = 4.56) และอยู่ระดับมาก 6 ด้าน คือ ด้านการจัดกิจกรรมและรูปแบบในการฝึกซ้อมของวงโยธวาทิต (x̅ = 4.13) รองลงมาคือ ด้านการวัดผลและประเมินผลในการพัฒนาวงโยธวาทิต (x̅ = 4.09) รองลงมาคือ ด้านการวัดผลและประเมินผลในการพัฒนาวงโยธวาทิต (x̅ = 4.09) รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาวงโยธวาทิต (x̅ = 4.07) รองลงมาคือ ด้านการวางแผนในการฝึกซ้อมกิจกรรมวงโยธวาทิต (x̅ = 4.06) และด้านที่มีสภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการวงโยธวาทิตน้อยที่สุด คือด้านการวิจัยและศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการวงโยธวาทิต (x̅ = 4.05) 2. ผลการวิเคราะห์ปัญหาการบริหารจัดการวงโยธวาทิต โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า โดยรวมมีการบริหารจัดการวงโยธวาทิต อยู่ในระดับน้อย (x̅ = 2.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีปัญหาในการบริหารจัดการวงโยธวาทิต อยู่ในระดับน้อยทุกด้าน คือ ด้านการจัดกิจกรรมและรูปแบบในการฝึกซ้อมของวงโยธวาทิต (x̅ = 2.23) รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาวงโยธวาทิต (x̅ = 2.23) รองลงมาคือ ด้านการวิจัยและศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการวงโยธวาทิต (x̅ = 2.22) รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาและกำหนดเป้าหมายของวงโยธวาทิต (x̅ = 2.21) รองลงมาคือ ด้านการวัดผลและประเมินผลในการพัฒนาวงโยธวาทิต (x̅ = 2.20) รองลงมาคือ ด้านการนิเทศและติดตามการพัฒนาของวงโยธวาทิต (x̅ = 2.18) ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการนิเทศและติดตามการพัฒนาของวงโยธวาทิต (x̅ = 2.18) |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1662 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010581054.pdf | 7.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.