Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1669
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Yuttakan Phonongkoon | en |
dc.contributor | ยุทธกานต์ โพธิ์หนองคูณ | th |
dc.contributor.advisor | Thatchai Chittranun | en |
dc.contributor.advisor | ธัชชัย จิตรนันท์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-06-23T10:50:20Z | - |
dc.date.available | 2022-06-23T10:50:20Z | - |
dc.date.issued | 23/3/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1669 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to study the components of teacher team building and teacher team building process. for educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3 2) to study the current condition Desirable condition and necessary needs for educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3 3) to develop guidelines for building a team of teachers For educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3, the sample groups used were: administrators and teachers 300 students in schools under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3, by comparing the total population with the Krejcie and Morgan sample size table and using Multi-Stage Sampling to obtain which the sample The tools used were a 5-level rating scale questionnaire, an interview form and a suitability and feasibility assessment form. The statistics used in the data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results of the research were as follows: 1. Elements of teacher team building and teacher team building process for educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3, from experts, it was found that 6 components were obtained: 1) balanced roles 2) clarity of goals 3) good communication and confrontation to solve problems 4) cooperation and mutual trust; 5) the right decision-making process of the leader; 6) regular review, development and performance evaluation. and 5 processes of team building 1) problem determination 2) data collection and analysis 3) planning to solve problems 4) implementation of the plan 5) performance appraisal 2. Current condition, desirable condition and necessary needs for educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3, it was found that the overall level was at a moderate level. When considering each aspect, in descending order, is the aspect of regular review, development and evaluation. The work process, the right decision of the leader. Good communication and confrontation to solve problems cooperation and mutual trust support balanced role and the aspect with the least mean was the goal clarity aspect, respectively. The results of a study on the desirable condition of creating a team of teachers for educational institutions under the office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3 found that it was at the highest level. When considering each aspect, it was found that it was at the highest level in all aspects. The mean values were arranged in descending order, the aspect with the highest mean being the clarity of the goal, followed by the balanced role. and the least aspect is the correct decision-making process of the leader, respectively. 3. Guidelines for building a team of teachers for educational institutions under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3, from the experts found that Overall, it is appropriate and feasibility is at the highest level. And when considering each aspect, it was found that every aspect was appropriate and feasible at the highest level in every aspect as well and found that there are 32 team building guidelines. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการสร้างทีมงานครูและกระบวนการสร้างทีมงานครู สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการสร้างทีมครู สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ ผู้บริหารและครู ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำนวน 300 คน โดยการเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดกับตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan และใช้เทคนิคการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ แบบสัมภาษณ์และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏผลดังนี้ 1. องค์ประกอบการสร้างทีมงานครูและกระบวนการสร้างทีมงานครู สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จากผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้องค์ประกอบ 6 องค์ประกอบ 1) บทบาทที่สมดุล 2) ความชัดเจนของเป้าหมาย 3) การติดต่อสื่อสารที่ดีและการเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหา 4) ความร่วมมือและการสนับสนุนไว้วางใจต่อกัน 5) กระบวนการทำงานการตัดสินใจที่ถูกต้องของผู้นำ 6) การทบทวนพัฒนาและประเมินผลงานอย่างสม่ำเสมอ และกระบวนการสร้างทีมได้ 5 ขั้นตอน 1) การกำหนดปัญหา 2) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 3) การวางแผนเพื่อแก้ปัญหา 4) การนำแผนไปปฏิบัติ 5) การประเมินผลการดำเนินงาน 2. สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการทบทวนพัฒนาและประเมินผลงานอย่างสม่ำเสมอ ด้านกระบวนการทำงานการตัดสินใจที่ถูกต้องของผู้นำ ด้านการติดต่อสื่อสารที่ดีและการเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหา ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนไว้วางใจต่อกัน ด้านบทบาทที่สมดุล และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความชัดเจนของเป้าหมาย ตามลำดับ ผลการศึกษาสภาพที่พึงประสงค์การสร้างทีมครู สำหรับสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความชัดเจนของเป้าหมาย รองลงมา คือ บทบาทที่สมดุล และด้านที่น้อยที่สุด คือ กระบวนการทำงานการตัดสินใจที่ถูกต้องของผู้นำ ตามลำดับ 3. แนวทางการสร้างทีมครู สำหรับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จากผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้านเช่นเดียวกัน และพบว่ามีแนวทางการสร้างทีมงาน 32 แนวทาง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนา | th |
dc.subject | แนวทาง | th |
dc.subject | การสร้างทีมงานครู | th |
dc.subject | Developing | en |
dc.subject | Guidelines | en |
dc.subject | Building a Team of Teachers | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Developing Guidelines for Building a Team of Teachers for Educational Institutions in under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 3 | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางการสร้างทีมงานครู สำหรับสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010581080.pdf | 5.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.