Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1672
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPimchanok Homhuanen
dc.contributorพิมชนก หอมหวลth
dc.contributor.advisorApiradee Junsangen
dc.contributor.advisorอภิราดี จันทร์แสงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:20Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:20Z-
dc.date.issued27/4/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1672-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop English reading comprehension through the DR-TA instruction and the 5W1H technique for grade 4 students and 2) to develop English reading comprehension through the DR-TA instruction and the 5W1H technique for grade 4 students after learning higher than before learning. The sample group was students in grades 4/4 at Kitiya School, Maha Sarakham. Operated on the second semester of the academic year of 2021, the selection of the sample group was obtained in the Cluster Random Sampling strategy. The research tools used in this study consisted of the DR-TA instruction and the 5W1H technique and a customized English reading comprehension test created by the researcher. The statistics used in the research were Mean, Standard Deviation, Percentage and The Wilcoxon Matched Pair Signed-Ranks Test (Nonparametric Tests). The results showed that 1) the development of English reading comprehension of grade 4 students has better development thhrougt keeping scores by using the DR-TA instruction and the 5W1H technique lesson plans that has total average is 23.37, S.D.= 0.70 and 77.91 percents 2). Grade 4 students had significantly higher reading comprehension abilities after the adoption of the DR-TA instruction and the 5W1H technique in class, statistically level at .05 .en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 2) เพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยการจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนให้สูงกว่าหลังก่อนเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนอนุบาลกิติยา จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 42 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H และแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และ The Wilcoxon Matched Pair Signed-Ranks Test (Nonparametric Tests) ผลการวิจัย พบว่า 1) การพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพและนักเรียนมีคะแนนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้นตามลำดับ โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 23.37 (X= 23.37, S.D. = 0.70) คิดเป็นร้อยละ 77.91 และ 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H  มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ, การจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA, เทคนิค 5W1Hth
dc.subjectEnglish reading for comprehension DR-TA Learning Management 5W1H Techniqueen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of English Reading Comprehension through The DR-TA Instruction and 5W1H Technique for Grade 4 Studentsen
dc.titleการพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับเทคนิค 5W1H สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010582041.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.