Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanida Chaiouanen
dc.contributorพนิดา ไชยอ้วนth
dc.contributor.advisorJuntip Kanjanasilpen
dc.contributor.advisorจันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Pharmacyen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:52:50Z-
dc.date.available2022-10-26T13:52:50Z-
dc.date.issued20/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1769-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (M.Pharm.)en
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)th
dc.description.abstractThe present study aimed to develop multimedia in Isaan dialect to demonstrate local patients with asthma how to use MDI and to assess the validity of their MDI-application skill and clinical outcomes. The study was divided into 2 phases and carried out at Bueng Khong Long Hospital, Bueng Kan. Multimedia and an evaluating tool were designed and constructed in phase 1 and 1-group semi-experiment was, subsequently, completed in phase 2 (between April 2019 and March 2020). Seventy-five patients capable of communicating in Isaan dialect were recruited in the study, in which they were required to watch the multimedia twice at week 0 and week 4. All patients were tested for their perception and MDI-application skill before and after watching the multimedia both at week 0 and week 4. Additionally, clinical outcomes, including ACT score, PEFR, FEV1, FVC and FEF25-75%, were monitored. The results revealed that mean of patient perception score of 8.28±1.32 and MDI-application score of 8.81±1.09 after watching the multimedia were significantly higher than those of 5.67±1.44 and 5.61±1.65, before watching the multimedia (p < 0.001) respectively. It was also found that patient perception and the validity of MDI-application skill decreased with time as both patient perception score and MDI-application score before watching the multimedia at week 4 were lower than those after watching the multimedia at week 0. However, mean of patient perception score of 8.93±0.94 after watching the multimedia at week 4 was significantly higher than that of 8.28±1.32 at week 0 (p < 0.001). Similarly, clinical outcomes monitored at week 4 were significantly higher than those at week 0 (p<0.001) as ACT score, FEV1 and FEF25-75% at week 0 were shown to be 20.27, 1.95  and 1.71, respectively, and those at week 4 were 20.97, 2.10 and 1.90, respectively. Other clinical outcome monitored at week 0 and 4 such as PEFR (5.70±1.47 to 5.83±1.42) and FVC (2.77±0.61 to 2.84±0.58) did statistically differ (p<0.05) significantly Moreover, 56 (74.67%) of patients  able to control their asthmatic symptoms at week 4 was significantly more than that of 43 (57.33%) at week 0 (p < 0.001). In conclusion, the developed multimedia could be used to significantly increase patient perception and the validity of MDI-application skill, thereby resulting in improvement of clinical outcomes of asthma patients mainly communicating in Isaan dialect.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้  เป็นการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียภาษาอีสานเพื่อช่วยสอนเทคนิคการพ่นยาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดที่มีการใช้ยาไม่ถูกต้อง เพื่อประเมินและเปรียบเทียบความถูกต้องของวิธีใช้ยาพ่นสูดรูปแบบละอองลอย รวมทั้งผลลัพธ์ทางคลินิกโดยทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคหืด ณ โรงพยาบาลบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ การศึกษานี้จะแบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อเพิ่มความถูกต้องของการใช้ยาพ่นสูด การสร้างเครื่องมือประเมินและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ระยะที่ 2 การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 1 กลุ่มวัดก่อนและหลัง  เพื่อประเมินผลการใช้สื่อมัลติมีเดีย (โดยทำการศึกษาช่วงเดือนเมษายน 2562 – เดือนมีนาคม 2563) ในผู้ป่วยจำนวน 75 ราย ซึ่งสามารถสื่อสารด้วยภาษาอีสาน ที่ส่งผลต่อความรู้และความถูกต้องของเทคนิคการใช้ยาพ่นสูดรวมทั้งผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้เข้าร่วมวิจัยโดยวัดก่อนและหลังการรับชมสื่อมัลติเดีย ที่ 0 และ 4 สัปดาห์ สำหรับผลลัพธ์ทางคลินิกที่ติดตามได้แก่ ACT score, PEFR, FEV1, FVC และ FEF25-75% โดยผลการศึกษาการใช้ยาพ่นสูดรูปแบบ Metered Dosed Inhaler พบว่าคะแนนเฉลี่ยความรู้ หลังให้คำแนะนำโดยเภสัชกรเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จาก 5.67±1.44  เป็น 8.28±1.32, p<0.001) และความถูกต้องในการใช้ยาพ่นสูด หลังให้คำแนะนำโดยสื่อมัลติมีเดียเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จาก 5.61±1.65 เป็น 8.81±1.09, p<0.001) ทั้งในสัปดาห์ที่ 0 และ 4 แต่กลับพบว่าเมื่อเวลาผ่านไปคะแนนความรู้และความถูกต้องเฉลี่ยกลับลดลงโดยผลคะแนนเฉลี่ยที่ก่อนรับคำแนะนำในครั้งที่ 2 ที่สัปดาห์ที่ 4 น้อยกว่าผลคะแนนเฉลี่ยภายหลังการให้คำแนะนำในครั้งที่ 1 (8.28±1.32 เป็น 7.61±1.29)  แต่เมื่อผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับคำแนะนำในครั้งที่ 2 คะแนนความรู้เฉลี่ยก็เพิ่มขึ้นมากกว่าภายหลังการให้คำแนะนำในครั้งที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จาก 8.28±1.32 เป็น 8.93±0.94, p<0.001) สอดคล้องกับผลลัพธ์ทางคลินิกที่พบว่า ในสัปดาห์ที่ 4 มี ค่าเฉลี่ยของ ACT score, PEFR, FEV1, FVC และ FEF25-75% เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ 0 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จาก 20.27 เป็น 20.97,p<0.001; จาก 5.70 เป็น 5.83, p=0.002; จาก 1.95 เป็น 2.10, p<0.001; จาก 2.77 เป็น 2.84, p=.028; จาก 1.71 เป็น 1.90, p<0.001ตามลำดับ) รวมถึงระดับการควบคุมโรคหืดที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จาก 43 ราย (57.33%) เป็น 56 ราย (74.67%), p<0.001)   สรุปผล การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียชุดนี้สามารถเพิ่มความรู้และความถูกต้องในการใช้ยาพ่นสูดรูปแบบ Metered Dosed Inhaler รวมทั้งช่วยให้ผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคหืดที่สามารถสื่อสารด้วยภาษาอีสานดีขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโรคหืดth
dc.subjectยาพ่นสูดth
dc.subjectสื่อมัลติมีเดียth
dc.subjectภาษาอีสานth
dc.subjectสมรรถภาพปอดth
dc.subjectasthmaen
dc.subjectinhaleren
dc.subjectmultimediaen
dc.subjectIsaan dialecten
dc.subjectlung functionen
dc.subject.classificationPharmacologyen
dc.titleDeveloping multimedia to improve MDI technique for people with asthmaen
dc.titleการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อเพิ่มความถูกต้องในการใช้ยาพ่นสูดรูปแบบ Metered Dose Inhaler ในผู้ป่วยโรคหืดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010780009.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.