Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1774
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSombat Suwannanunen
dc.contributorสมบัติ สุวรรณนันท์th
dc.contributor.advisorSaithip Suttiruksaen
dc.contributor.advisorสายทิพย์ สุทธิรักษาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Pharmacyen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:52:51Z-
dc.date.available2022-10-26T13:52:51Z-
dc.date.issued19/7/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1774-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (M.Pharm.)en
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)th
dc.description.abstractThe objects of this study were to investigate the incidence of non-adherence in patients with pulmonary tuberculosis and to compare the outcomes (adherence, drug-related problems, knowledge of pulmonary tuberculosis (TB) , self-care behaviors and medications,  and  sputum culture  and  chest x-ray  of pharmaceutical  care  provision during home  visits in  patient  with pulmonary TB who did not adhere to intensive phase medication therapy.  A descriptive design  was used to study the incidence of non-adherence in patients with pulmonaryTB.The quasi-experimental, prospective, pretest-posttest design was used to compare the usual care and pharmaceutical care with home visits. All the studies were conducted at Ban Phai  Hospital,  Khon  Kaen  Province, during June 2021 until February 2022. This study collected data on days 0, 14, 28, and 567, respectively.  On day 14, after patients took anti-TB drugs, we found 40 patients out of 11pulmonary TB patients were non-adherence.The incidence of non-adherent patients in the intensive phase was 34.19%. Those forty patients (70.00% male, mean age 58±13.19 years, 80.00% no TB history in household family, 55.00% had medication care giver by family member) were specifically enrolled to compare the effect of pharmaceutical care with home visits using the INHOMESS and the Pharmaceutical Care Network Europe (PCNE) tools to usual care.  On day 14 was the beginning of pharmaceutical care with the home visit. On day 14, 28, and 56, anti-TB drug adherence increased from 0.00% (40/40), 95.00% (38/40), and 97.50% (39/40) on day 14, 28, and 56, respectively. Drug related problems were 27.50% (11/40), 10.00% (4/40), and 17.50% (7/40), on days 14, 28, and 56, respectively. The knowledge of pulmonary TB, self-care behaviors, and medications increased from 9.68±2.17 to 13.05±1.20 on day 14 and day 28, respectively. On the first day, forty patients (100.00%) had sputum infection, and 27 patients (67.50%) had lesion from a chest x- ray. At the end of intensive phase therapy (day 56), 2 patients (5.00%) had sputum infection and 3 patients (7.50%) had lesion from chest x- ray. Dot by family could be increased from 55.50 % to 87.50% with pharmaceutical care and the home visit by a pharmacist could be. Conclusion: in patients with pulmonary TB in intensive phase drug therapy, usual pharmaceutical care combined with home visit using INHOMESS and PCNE tools can improve adherence, knowledge  of pulmonary TB, self-care behaviors and medications, and reduce  drug- related problems, sputum infection, and lung lesion.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ความไม่ร่วมมือในการใช้ยา และเปรียบเทียบผลการบริบาลทางเภสัชกรรมแบบปกติกับแบบที่มีการเยี่ยมบ้านร่วมด้วยในผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือในการใช้ยาต้านวัณโรคปอดในระยะเข้มข้นต่อความร่วมมือในการใช้ยา ปัญหาในการใช้ยา ความรู้เรื่องโรคการปฏิบัติตัวและการใช้ยา ผลตรวจเสมหะและเอ็กซเรย์ปอด  รูปแบบการศึกษาอุบัติการณ์ความไม่ร่วมมือในการใช้ยาเป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ในผู้ป่วยวัณโรคปอดที่เข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ในช่วงเวลาระหว่าง เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึง เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ร่วมกับการศึกษากึ่งทดลอง ติดตามผลแบบไปข้างหน้าที่เวลาก่อนและหลังการศึกษา การศึกษานี้เก็บข้อมูลคนไข้ ในวันที่ 0 14 28 และ 56 ตามลำดับ ผู้ป่วยวัณโรคปอดที่ขึ้นทะเบียนและเข้ารับการรักษาจำนวนทั้งสิ้น117 ราย เมื่อให้ยาไปรับประทาน  14 วันพบว่าผู้ป่วยจำนวน 40  รายไม่ให้ความร่วมมือในการใช้ยาในระยะเข้มข้นคิดเป็นอุบัติการณ์ความไม่ร่วมในการใช้ยาร้อยละ 34.19  ผู้ป่วยจำนวน 40 รายดังกล่าวถูกคัดเลือกอย่างเจาะจงให้เข้าร่วมการศึกษาผลการบริบาลทางเภสัชกรรม แบบปกติกับแบบที่มีการเยี่ยมบ้านโดยใช้เครื่องมือ INHOMESS และ ประเมินปัญหาด้านยาด้วยแบบ ประเมินปัญหาในการใช้ The Pharmaceutical Care Network Europe (PCNE) ร่วมด้วย เปรียบเทียบผลก่อน (ในวันที่ 14) และหลังการศึกษา (ในวันที่ 28 และ 56 ตามลำดับ) ผู้ป่วยที่เข้าร่วมการศึกษา ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย  (ร้อยละ 70.00) อายุเฉลี่ย  58±13.19 ปี ไม่มีสมาชิกในครอบครัวเคยเป็นวัณโรค มาก่อน (ร้อยละ 80.00) มีคนในครอบครัวช่วยกำกับดูแลการรับประทานยา (ร้อยละ 55.00) ในวันที่ 14 ในผู้ป่วย 40 ราย พบว่า ให้ความร่วมมือในการใช้ยาร้อยละ 0.00 ในวันที่ 28 และ วันที่ 56 พบว่าผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการใช้ยาเป็นจำนวน 38 ราย (ร้อยละ 95.00) และ จำนวน 39 ราย (ร้อยละ 97.50) ตามลำดับ พบปัญหาจากยาจำนวนทั้งสิ้น 11 ครั้ง  คิดเป็นร้อยละ 27.50 ซึ่งเป็นปัญหาที่ค้นพบจากการเยี่ยมบ้าน พบปัญหาในการใช้ยา (DRPs)  มากที่สุด คือการเลือกใช้ยาที่ไม่เหมาะสมกับภาวะที่เป็น  (ร้อยละ 45.44)  โดยจัดการที่ตัวผู้ป่วยมากที่สุด  (ร้อยละ63.64)  ด้วยการปรับทัศนคติ ในการรักษา  ในวันที่ 28 พบ 4 ครั้ง (ร้อยละ 10.00) ในวันที่ 56 พบ 7 ครั้ง (ร้อยละ 17.50) ผู้ป่วยมีคะแนนความรู้เฉลี่ยเรื่อง โรค การปฏิบัติตัว และการใช้ยาหลังให้ความรู้ก่อนการให้ความรู้โดยเภสัชกร เฉลี่ย 9.68±2.17 คะแนน หลังได้รับความรู้ในวันที่ 28 คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 13.05±1.20 คะแนน ผลการตรวจพบเชื้อในเสมหะและเอ็กซเรย์ปอดในวันที่ 1 พบผู้ป่วยมีเชื้อในเสมหะทั้งหมด 40 ราย (ร้อยละ 100.00) ผลเอ็กซเรย์ปอดพบร่องรอยโรคจำนวน 27 ราย (ร้อยละ 67.50) เมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้น (วันที่ 56) พบผู้ป่วยมีเชื้อในเสมหะทั้งหมด 2 ราย  (ร้อยละ 5.00)  และพบผู้ป่วยที่มีร่องรอยจากการเอ็กซเรย์ปอด จำนวน 3 ราย (ร้อยละ 7.50)  เมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้นโดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยได้รับการสังเกตการรับประทานยาโดยตรงจากคนใน ครอบครัว (Dot by family) (ร้อยละ87.50) สรุป การบริบาลทางเภสัชกรรมแบบปกติร่วมกับการเยี่ยมบ้านร่วมด้วยโดยใช้เครื่องมือ INHOMESS และ PCNE สามารถเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาต้านวัณโรค ความรู้เรื่องโรคการปฏิบัติตัวและการใช้ยา ลดปัญหาการใช้ยา และ สามารถกำจัดเชื้อและลดร่องรอยในปอดได้th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความไม่ร่วมมือในการใช้ยาth
dc.subjectปัญหาในการใช้ยาth
dc.subjectเภสัชกรครอบครัวth
dc.subjectการเยี่ยมบ้านth
dc.subjectวัณโรคปอดth
dc.subjectการบริบาลทางเภสัชกรรมth
dc.subjectNon adherenceen
dc.subjectDRPsen
dc.subjectFamily pharmacisten
dc.subjectHome visiten
dc.subjectPulmonary tuberculosisen
dc.subjectpharmaceutical careen
dc.subject.classificationPharmacologyen
dc.titleEffects of Home Pharmaceutical Care in Intensive Phase of Non Adherance Patients with Pulmonary Tuberculosisen
dc.titleผลการบริบาลทางเภสัชกรรมที่บ้านในผู้ป่วยวัณโรคปอด ที่ไม่ให้ความร่วมมือในการใช้ยาในระยะเข้มข้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010781004.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.